Page 8 - เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน OVERVIEW of TECHNOLOGIES and APPROACHES for SUSTAINABLE DEVELOPMENT
P. 8

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน






               ไรชาขั้นบันได “แปลง 2,000 ตนแบบการปลูกชาจีนแบบขั้นบันไดดินบนพื้นที่สูง

                                                                                                                     ถนอมขวัญ ทิพวงศ ์กองวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน
        รูปแบบการใชประโยชนที่ดินบนพื้นที่ลาดชันสูงเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจเมืองหนาวที่มี
        ประสิทธิภาพจําเปนตองมีทั้งมาตรการอนุรักษดินและน้ําทางวิธีกลควบคูกับวิธีพืชเสมอ ซึ่งไรชา
        ขั้นบันได “แปลงชา 2000” ณ สถานีเกษตรหลวงอางขาง ตําบลแมงอน อําเภอฝาง จังหวัด
        เชียงใหม นั้น เปนแปลงที่โครงการหลวงอางขางไดสงเสริมและพัฒนาอาชีพใหกับเกษตรกร
        ชาวเขาเผาปะหลองบานนอแลมากกวา 50 ราย ที่อาศัยอยูโดยรอบสถานีไดมีที่ดินทํากิน โดยมี
        จุดมุงหมายเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรชาวเขาใหมีอาชีพและรายไดที่มั่นคง ลดการ
        บุกรุกพื้นที่ปาเพื่อปลูกฝนและการทําไรเลื่อนลอย และคํานึงถึงความยั่งยืนในการใชประโยชนที่ดิน

        ทางการเกษตรที่เกื้อกูลกับทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศบนพื้นที่สูง โดยเกษตรกรชาวเขา
        สามารถผลิตชาจีนคุณภาพดีมาจนถึงปจจุบัน ทําใหเปนแหลงศึกษาดูงานการผลิตชาจีนที่มี
        ชื่อเสียงของภาคเหนือและของประเทศไทย นับเปนตนแบบของการจัดการที่ดินบนพื้นที่สูงเพื่อการปลูกชาจีนที่ยั่งยืน
                                     นายจาย หมอกเงิน เปนเกษตรกรชาวเขาเผาปะหลองครอบครัวหนึ่งที่สมัครใจเขารวม

                                     โครงการสงเสริมและพัฒนาอาชีพการปลูกชาจีนแบบขั้นบันไดดินมาตั้งแตป พ.ศ. 2543
                                     นับเปนเวลามากกวา 20 ป โดยตลอดเวลาที่ผานมาไดดําเนินการตามแนวทางระบบ
                                     เกษตรดีที่เหมาะสม (GAP) ทําใหสามารถเลี้ยงดูตนเองและครอบครัวไดจนถึงทุกวันนี้


                                      นายจาย เลาวา ในชวงแรก ๆ เจาหนาที่ของสถานีเกษตรหลวงอางขางไดเขามาอบรม
                                      ใหคําแนะนําทางวิชาการ ตั้งแตคัดเลือกพันธุ วิธีปลูก ดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว การ
                                      สนับสนุนปจจัยการผลิต การรับซื้อในราคาประกัน การจัดหาโรงงานแปรรูป
                                      ตลอดจนใหคําแนะนําในการดูแลรักษาขั้นบันไดดินเพื่อใหใชที่ดินไดอยางยั่งยืน



                                      เริ่มจากเตรียมหลุมปลูก โดยขุดหลุมตามแนวขั้นบันไดใหกวาง 30 เซนติเมตร ลึกไม
                                      นอยกวา 30 เซนติเมตร ระยะระหวางตน 40-50 เซนติเมตร ใชกลาจากกิ่งปกชํา
                                      ที่มีอายุประมาณ 10-12 เดือน คลุมโคนตนเพื่อรักษาความชื้น ในพื้นที่ 1 ไร จะได
                           ง
                                      ตนชาจํานวน 2,000 ตน


                                      ดูแลรักษาแปลงชาอินทรีย ไมใชสารเคมีและปุยเคมี เนนใชปุยหมักที่ผลิตเองโดยใส
                                      ตามรองยาวบริเวณปลายทรงพุมชาทั้งสองดาน ลึกประมาณ 15 เซนติเมตร อัตรา 2
                                      กิโลกรัมตอตน ปละ 3 ครั้ง ในชวงเดือนกุมภาพันธ มิถุนายน และตุลาคม


                                     นายวีรพงษ เทพังธง เจาหนาที่สถานีเกษตรหลวงอางขาง ใหขอมูลวาเกษตรกรชาวเขา
                                     สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตไดชวงเดือนเมษายน-ธันวาคม โดยพันธุเบอร 12 ใหผลผลิต
                                     เฉลี่ย 800 กิโลกรัมตอไร สวนพันธุกานออนใหผลผลิตเฉลี่ย 600 กิโลกรัมตอไร ซึ่งใน
                                     รอบ 1 ป เก็บได 5-6 ครั้ง ผลผลิตโดยรวมอยูที่ 60,000 กิโลกรัมตอป ทําใหมีรายได
                                     เฉลี่ย 100,000-300,000 บาทตอราย ทั้งนี้ทางสถานีฯ ไดรับงบประมาณสนับสนุน
                                     จากรัฐบาลไตหวันและสถาบันพัฒนาพื้นที่สูงชวยเหลือเรื่องอาคาร เครื่องจักรแปรรูปและ
                                     เทคนิคการแปรรูปชา ทําใหเกษตรกรที่เขารวมโครงการมีคุณภาพชีวิตที่ดี


              ไรชาขั้นบันไดนอกจากจะเปนการใชประโยชนที่ดินเพื่อการปลูกชาจีนบนพื้นที่สงู ที่ยั่งยืนแลว
              ยังชวยสรางความตระหนักรใู หเ กษตรกรชาวเขา ไดรักและหวงแหนทรัพยากรดิน-น้ํา-ปาไม
               และระบบนิเวศ เราจงึ ไดเห็นการปฏิบตั ิดูแลแปลงชา 2000 เปนอยางดีมาจนถึงทุกวันนี้



                 เอกสารฉบับเต็ม หัวข้อที่ 2 ไร่ชาขั้นบันไดเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำบนพื้นที่สูง
                 จากหนังสือ 37 เทคโนโลยีเพื่อการจัดการดินอย่างยั่งยืน                                           3
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13