Page 6 - เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน OVERVIEW of TECHNOLOGIES and APPROACHES for SUSTAINABLE DEVELOPMENT
P. 6

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน






                     ขั้นบันไดดินฐาน          3 เมตร เพื่อการปลูกชาจีนบนพื้นที่สูง

                                                                                   ถนอมขวัญ ทิพวงศ์ กองวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน
        หลายทานอาจเคยไดยินชื่อเสียงของ “แปลงชา
        2000” ซ ึ่ ง เ ป  น แ ป ล ง ป ล ู ก ช า จ ี น อ ิ น ท ร ี ย 
        ขั้นบันไดดินแบบตอเนื่อง ภายในสถานีเกษตร
        หลวงอางขางจังหวัดเชียงใหม โดยเกษตรกร
        ชาวเขาสามารถผลิตชาจีนคุณภาพดีมาจนถึง
        ปจจุบัน นับไดวาขั้นบันไดดินแหงนี้มีความ

        คงทน ดังเห็นไดจากอายุการใชงานที่นานกวา
        20 ป นับจากเริ่มสรางขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2542      มารูจักขั้นบันไดดินกันเถอะ

        ขั้นบันไดดินเปนมาตรการอนุรักษดินและน้ําทางวิธีกลประเภทคันดิน โดยปรับสภาพพื้นที่ที่มีความ
        ลาดชันใหเปนขั้น ๆ ลดหลั่นกันแบบขั้นบันได ใหเหมาะสมตอการเพาะปลูก ดูแลรักษา เก็บเกี่ยว ขนสงพืชผลหรือปจจัยการ
        ผลิต  และประการสําคัญคือชวยชะลอความเร็วของน้ําไหลบา ปองกันการพังทลายของดิน รักษาหนาดินที่อุดมสมบูรณไวได
        สรางความชุมชื้นแกดิน ทําใหใชที่ดินเพื่อการเพาะปลูกไดอยางยั่งยืน เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมและระบบนิเวศ


         แนวคิดริเริ่มทําขั้นบันไดดินบนพื้นที่สูง       การทําขั้นบันไดดินมีขั้นตอนหลัก ๆ อยางไรบาง ?

        ยอนกลับไปในป พ.ศ. 2542 สถานีเกษตรหลวง      ปกหลักเพื่อกําหนดแนวขุดจากจุดสูงสุดของพื้นที่จนถึงจุดต่ําสุดเพื่อ

        อางขางจังหวัดเชียงใหม ตองการปรับปรุงแปลง    ใชเปนแนวการขุดแรก จากนั้นจึงปกหลักกําหนดแนวขุดในแนวขึ้น-
        ไมผลเขตหนาวเกาที่มีสภาพเสื่อมโทรม ให        ลง ตามความลาดชัน มีระยะหางระหวางไมที่ปกเทากับระยะหาง
        ผ ล ผ ล ิต ต ่ํา   แ ล ะ เ ส ี่ย ง ต อ ก า ร เ ก ิด ก า ร ช ะ ล า ง  ของขั้นบันไดดินเทากับ 3 เมตร โดยปกไมที่จุดกึ่งกลางของบันได
        พังทลายของดินโดยน้ํา ใหมีศักยภาพเหมาะสม       ดิน จากนั้นจึงปกหลักวางแนวขุดในแนวระดับ แนวแรกที่จุดสูงสุด
        ตอการปลูกพืชเศรษฐกิจเมืองหนาว จึงประสาน       ของพื้นที่กําหนดความกวางของเสนระดับประมาณ 3.0 เมตร และ
        ขอความรวมมือกรมพัฒนาที่ดินในการจัดทํา         ลาดเอียง 1-2 องศา เพื่อระบายน้ําออกจากพื้นที่
        ระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมกับการปลูกชา   ขุด-ถม เคลื่อนยายดินและปรับแตงพื้นที่ โดยใชเครื่องจักรขุดดิน
        จีนบนพื้นที่สูง ตามโครงการสงเสริมและพัฒนา     จากขอบแปลงดานลางขึ้นไปทําเปนขั้นบันไดดินเหนือจุดที่ขุด พรอม
        อาชีพใหกับเกษตรกรชาวเขาเผาปะหลองแหงบาน    ทั้งปรับระดับขั้นบันไดใหมีความสม่ําเสมอ จึงเคลื่อนยายดิน

        นอแลไดมีที่ดินทํากินเปนหลักแหลง หยุดการบุก  ปรับแตงและบดอัดใหแนน โดยมีความกวาง 3 เมตร เอียงเขาหา
        รุกแผวถางปาเพื่อทําไรเลื่อนลอยเหมือนที่เคยทํา  ตลิ่ง1-2 องศา ใหมีความหนาของดินเพิ่มอีก 10 เปอรเซ็นต เพื่อ
        ในอดีต                                         ปองกันการยุบตัว โดยมีชั้นของอินทรียวัตถุอยูชั้นบนสุด กําหนด

        กรมพัฒนาที่ดิน โดยศูนยปฏิบัติการพัฒนาที่ดิน   ความสูงของขั้นบันไดดินแตละขั้นไมเกิน 1.8 เมตร จึงตัดดินลงไป
        โครงการหลวง (ศพล.) ไดสํารวจ ออกแบบ และ        0.9 เมตร และเติมดิน 0.9 เมตร
        จัดทําขั้นบันไดดินแบบตอเนื่องที่มีความกวางฐาน
        3 เมตร ซึ่งเหมาะสมกับพื้นที่ที่มีความลาดชัน

        ไมเกิน 25 เปอรเซ็นต เปนดินลึกมากกวา
        1 เมตร โดยสามารถดําเนินการเสร็จสิ้นในป
        เดียวกัน ครอบคลุมเนื้อที่ประมาณ 100 ไร

        และตอมาในป พ.ศ. 2543 ทางสถานีเกษตร
        หลวงอางขาง ไดจัดสรรที่ดินแปลงจัดทําระบบ
        อนุรักษดินและน้ํา “ขั้นบันไดดินแบบตอเนื่อง”   ปลูกหญาแฝกเพื่อรักษาขั้นบันได 2 แถว โดยปลูกเหนือแนว
        ใหกับเกษตรกรชาวเขาเผาปะหลองจํานวนกวา       ขั้นบันไดดินดานบน 1 แถว และปลูกที่แนวดินถมอีก 1 แถว ใช
        50 ราย ใชประโยชนจากขั้นบันไดดินเพื่อปลูกชา   ระยะหางระหวางตน 10 เซนติเมตร หรือปลูกพืชคลุมดินบน
        จีนอินทรียมาจนถึงปจจุบัน                     ขั้นบันไดดินเพื่อรักษาความชุมชื้นแกดิน               1
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11