Page 24 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร ขมิ้นชัน กระชายดำ ไพล และบัวบก
P. 24
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
3-4
ค่าเปรียบเทียบเนื้อดินกับความจุในการอุ้มนํ้า
ความจุในการอุ้มนํ้า เนื้อดิน
1) ตํ่ามาก s (coarse sandy)
2) ตํ่า ls (fine sandy)
3) ปานกลาง scl,sl
4) สูง sic,l,cl,c,sc (loamy and clay)
5) สูงมาก si,sil,sicl,vfsl (silty and very fine sandy loam)
ชั้นมาตรฐานความจุในการอุ้มนํ้า
ระดับ ความจุในการอุ้มนํ้า (cm/cm of soil)
1) ตํ่ามาก < 0.05
2) ตํ่า 0.05-0.10
3) ปานกลาง 0.10-0.15
4) สูง 0.15-0.20
5) สูงมาก > 0.20
ปริมาณนํ้าฝนที่ตกลงมาในแต่ละพื้นที่จะมีส่วนหนึ่งซึมลงไปในดินสู่เบื้องล่าง เมื่อดินอิ่มตัว
ด้วยนํ้าแล้วส่วนที่เหลือจะไหล่บ่าออกไปจากพื้นที่ ปริมาณนํ้าฝนที่เหลืออยู่ในดินซึ่งพืชสามารถ
นําไปใช้เป็นประโยชน์ได้ เรียกว่า Effective rainfall จากรายงานของ Kud Reservior Project ได้แสดงวิธี
ประเมินค่า Effective rainfall จากปริมาณนํ้าฝนที่ตกลงมาในแต่ละเดือนดังนี้
จํานวนนํ้าฝนรายเดือน (มิลลิเมตร) Effective rainfall (%)
< 10 0 %
10-100 80 %
101-200 70 %
201-250 60 %
251-300 55 %
>300 50 %
ค่าของ Effective rainfall ที่คํานวณได้ในช่วงฤดูปลูกพืชมีค่าใกล้เคียงกับปริมาณนํ้าที่ต้องการ
ในช่วงการเจริญเติบโต (Water in growing period)
แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร ขมิ้นชัน กระชายดํา ไพล และบัวบก กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน