Page 141 - แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำโดมใหญ่ อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
P. 141

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                         102



               ในพื้นที่อื่น ๆ ตามแผนปฏิบัติการรายปี ต่อไป นอกจากนี้ ยังมีการติดตามและประเมินผลโครงการ

               เพื่อแก้ไขและปรับปรุงการด าเนินการตามมาตรการต่าง ๆ ที่ด าเนินการลงไปในพื้นที่ให้เหมาะสมมากขึ้น
                         โดยการด าเนินการกิจกรรมต่าง ๆ ในพื้นที่นอกจากจะมีการด าเนินการตามแนวทางของ

               กรมพัฒนาที่ดินแล้วยังสามารถมีการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

               และกระทรวงอื่น เช่น กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย กระทรวง
               การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงสาธารณสุข เป็นต้น ในด้านการร่วมงานในพื้นที่

               ป่าไม้ และอุทยาน การส่งเสริมอาชีพ การถ่ายทอดความรู้ และสุขภาพอนามัยของประชาชนในพื้นที่
               สร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนการใช้ที่ดิน แรงจูงใจในการน ามาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้ าเข้าไปใช้

               ในพื้นที่ของเกษตรกร

                         จากการวิเคราะห์สภาพปัญหาของพื้นที่ ข้อมลทางสภาวะเศรษฐกิจและสังคม ประกอบด้วย
               ข้อมูลทุติยภูมิและปฐมภูมิที่ได้จากการส ารวจภาคสนามเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันครอบคลุมประเด็น

               ปัญหาของสภาพพื้นที่อย่างแท้จริง ได้แก่ ข้อมูลการชะล้างพังทลายของดิน ข้อมูลด้านทรัพยากรดิน
               (คุณสมบัติของดิน, สภาพดินปัญหา) ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน ระดับการเปลี่ยนแปลง ของการใช้ที่ดิน

               ด้านทรัพยากรน้ า สภาพภูมิประเทศและสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีความเชื่อมโยงกันใน ด้านกายภาพ

               ด้านเศรษฐกิจ และสังคม ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน และการรับฟังความคิดเห็นของหน่วยงาน
               ในระดับพื้นที่ เพื่อน าข้อมูลมาประกอบการวิเคราะห์และจัดท าจัดท าแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันการชะล้าง

               พังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ให้มีประสิทธิภาพ

               เกิดประสิทธิผลถูกต้องตามสมรรถนะและศักยภาพของที่ดิน และให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้เกิดการเรียนรู้น าไปสู่
               การจัดการที่ถูกต้องเหมาะสมและให้ได้เครื่องมือในการใช้ที่ดินอย่างยั่งยืน เพื่อลดอัตราการชะล้าง

               พังทลายและการกัดเซาะหน้าดินการตกตะกอน และปริมาณสารพิษตกค้างที่เป็นผลมาจากการใช้ที่ดิน
               บนพื้นที่ลุ่มน้ าให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน เกษตรกรและชุมชนสามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่างถูกต้องและ

               เหมาะสม จึงมีการก าหนดแนวทางและมาตรการที่มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหา แผนการใช้ที่ดิน

               บนพื้นฐานการมีส่วนร่วม ประกอบด้วย
                         1) มาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน แบ่งตามระดับ

               ความรุนแรงของการชะล้าง ดังนี้
                            1.1) พื้นที่ที่มีการชะล้างรุนแรง ก าหนดมาตรการ คือ การไถพรวนและปลูกพืชตาม

               แนวระดับ (contour cultivation) การยกร่องตามแนวระดับ (ridging) การสร้างคันดิน (terrace, bench

               terrace) คันดินเบนน้ า (division terrace) แนวหญ้าแฝกทางล าเลียง (farm road) ทางระบายน้ า
               (waterways) ฝายชะลอน้ า (check dam, weir) บ่อดักตะกอน (pond)

                            1.2) พื้นที่ที่มีการชะล้างปานกลาง ก าหนดมาตรการ คือ การไถพรวนและปลูกพืชตาม

               แนวระดับ (contour cultivation) การยกร่องตามแนวระดับ (ridging) การสร้างคันดิน (terrace, bench
               terrace) คันดินเบนน้ า (division terrace) แนวหญ้าแฝกทางล าเลียง (farm road) ทางระบายน้ า

               (waterways) ฝายชะลอน้ า (check dam, weir) บ่อดักตะกอน (pond)
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146