Page 140 - แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำโดมใหญ่ อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
P. 140

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             101










































                   ภาพที่ 5-2  พื้นที่ลุ่มน้ าเป้าหมายในแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่

                              เกษตรกรรม พื้นที่ลุ่มน้ าห้วยต าแย อ าเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี ระยะ 8 ปี

                             ส าหรับแผนปฏิบัติการระยะ 8 ปี เป็นการจัดกลุ่มของพื้นที่ในลุ่มน้ าตามล าดับความส าคัญของ

                   โครงการตามปัจจัยต่าง ๆ เพื่อก าหนดกรอบพื้นที่ด าเนินการตามปีงบประมาณ และค าแนะน าในการใช้
                   มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าด้านต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                   ในระยะ 1 ปี ตามแผนปฏิบัติการรายปีนั้น ซึ่งจะต้องน าพื้นที่ด าเนินการและค าแนะน าในการบริหาร
                   จัดการจากแผนปฏิบัติการระยะ 8 ปี ไปศึกษาความเหมาะสมของโครงการ ที่จะด าเนินการในพื้นที่

                   ลุ่มน้ าย่อย โดยมีการศึกษาในด้านต่าง ๆ ควบคู่กันไป ทั้งด้านการออกแบบมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า

                   ด้านต่าง ๆ โดยจัดการพื้นที่ตามสภาพความรุนแรงของปัญหาและน ามาตรการการป้องกันและฟื้นฟู
                   ทรัพยากรดินตามสภาพปัญหาของพื้นที่เฉพาะพื้นที่ไป เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานของเกษตรกร

                   ด้านความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ผลประโยชน์กับเกษตรกรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ผลกระทบของ

                   พื้นที่ที่ด าเนินโครงการ ในกรณีที่มีโครงการและกรณีที่ไม่มีโครงการ โดยมีแนวทางในการบริหารทรัพยากร
                   ให้ได้ประโยชน์สูงสุด เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้ าที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และการใช้

                   ประโยชน์ที่ดิน โดยน ามาตรการต่าง ๆ มาปรับใช้ทั้งในทางพืชและทางวิศวกรรม โดยในการใช้มาตรการ
                   ทางวิศวกรรมนั้นสามารถใช้มาตรการด้านต่าง ๆ ตามมาตรฐานของกรมพัฒนาที่ดิน มาใช้ในการออกแบบ

                   รายละเอียด และจะต้องปฏิบัติตาม พ.ร.บ. วิศวกรรมด้วย เพื่อควบคุมและจัดการพื้นที่ในการลดการ

                   ชะล้างพังทลายและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม เพื่อเป็นต้นแบบในการบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้ า
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145