Page 9 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยยาง อำเภอศรีเทพ และอำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 9
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
ดิน คันดินเบนน้ า แนวหญ้าแฝกทางล าเลียง คูรับน้ าขอบเขา ทางระบายน้ า ฝายชะลอน้ า และบ่อดัก
ตะกอน ส่วนพื้นที่ที่มีการชะล้างระดับน้อย มีมาตรการเพิ่มเติม คือ การไถพรวนดินล่าง การปรับระดับ
และปรับรูปแปลงนา
ส่วนใหญ่มีปัญหา
ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ าและดินตื้น ก าหนดมาตรการโดยเน้นการเพิ่มอินทรียวัตถุด้วยการปลูกพืชคลุมดิน
ปลูกพืชปุ๋ยสด การใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยชีวภาพ
ในพื้นที่ทางการเกษตรซึ่งมี
สภาพปัญหาการขาดแคลนน้ า จึงก าหนดมาตรการตามสภาพปัญหาและสอดคล้องตามความต้องการของ
ชุมชน คือ อ่างเก็บน้ า สระเก็บน้ า ฝายทดน้ า การปรับปรุงล าน้ า คลองส่งน้ า ระบบส่งน้ าด้วยท่อ และ
ระบบให้น้ าแบบ micro irrigation
ต้นแบบแผนบริหารจัดการทรัพยากรดินเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่
เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า เป็นรูปแบบการบริหารจัดการลุ่มน้ าเชิงระบบ ครอบคลุมทุกมิติ
แบบองค์รวม ประกอบด้วย มิติทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม โดยก าหนดทิศทางจาก
สภาพปัญหาเป็นตัวน า ความรู้ทางวิชาการที่หลากหลายสาขาผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์ จากงานวิจัย
และเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน การอนุรักษ์ดินและน้ า ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน
ประกอบด้วย การวิเคราะห์สภาพปัญหาของพื้นที่ คัดเลือกวิธีการประเมินปัญหาการชะล้างพังทลายของ
ดิน และตรวจสอบข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ครอบคลุมประเด็นปัญหาของสภาพพื้นที่อย่างแท้จริง ได้แก่ ข้อมูล
การชะล้างพังทลายของดิน ข้อมูลด้านทรัพยากรดิน ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน การเปลี่ยนแปลงของการใช้
ที่ดิน ข้อมูลด้านทรัพยากรน้ า สภาพภูมิประเทศ และสิ่งแวดล้อม ข้อมูลทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งมีความ
เชื่อมโยงกันในด้านกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม โดยน าข้อมูลมาประกอบการวิเคราะห์และจัดท า
แผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดิน
และน้ า เพื่อให้มีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล ถูกต้องตามสมรรถนะและศักยภาพของที่ดิน และให้ผู้ที่
เกี่ยวข้องได้เกิดความตระหนักและการเรียนรู้น าไปสู่การจัดการที่ถูกต้อง พร้อมทั้งการประเมินสถานการณ์
การเปลี่ยนแปลง โดยการติดตามและประเมินผลตามตัวชี้วัด เพื่อให้ทราบผลส าเร็จจากการด าเนินงาน
ด้านการลดระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน และด้านเศรษฐกิจสังคมของชุมชนบริเวณ
พื้นที่ลุ่มน้ า สู่การพัฒนาระบบการบริหารจัดการด้านการอนุรักษ์ดินและน้ า ให้เกษตรกรและชุมชน
สามารถใช้ที่ดินได้อย่างยั่งยืน