Page 6 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยยาง อำเภอศรีเทพ และอำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 6
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
จากการศึกษาและส ารวจข้อมูลดินในพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยยาง อ าเภอศรีเทพ และอ าเภอวิเชียรบุรี
จังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่อจัดท าฐานข้อมูลและประเมินสถานภาพทรัพยากรดิน โดยเน้นด้านการชะล้างพังทลาย
ของดิน ทั้งนี้เพื่อน าไปสู่การวิเคราะห์แนวทางการใช้ที่ดินด้านการเกษตร และก าหนดมาตรการเพื่อป้องกัน
ชะล้างพังทลายของดินและอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสม พบว่า ผลการจ าแนกสภาพปัญหา ข้อจ ากัดของ
ดิน และศักยภาพของดินในพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยยาง อ าเภอศรีเทพ และอ าเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์
แบ่งเป็น 3 ประเภทหลัก ได้แก่ (1) ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ได้แก่ ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า และดินที่
มีความอุดมสมบูรณ์ปานกลางถึงสูง ครอบคลุมเนื้อที่รวม 116,062 ไร่ หรือร้อยละ 77.32 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า
(2) ดินที่มีปัญหาทางด้านการเกษตร ได้แก่ ดินตื้นถึงชั้นหินพื้น เป็นอุปสรรคต่อการเจริญเติบโตของพืช
ด้านการชอนไชของรากพืช ครอบคลุมเนื้อที่รวม 11,043 ไร่ หรือร้อยละ 7.35 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า และ (3)
ดินปัญหาที่เกิดจากการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน ครอบคลุมเนื้อที่รวม 15,326 ไร่ หรือ
ร้อยละ 10.21 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า ส่วนพื้นที่ที่เหลือ คือ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง ครอบคลุมเนื้อที่รวม
6,227 ไร่ หรือร้อยละ 4.15 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า และพื้นที่น้ า ครอบคลุมเนื้อที่รวม 1,458 ไร่ หรือร้อยละ
0.97 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า
พื้นที่ลุ่มน้ าห้วยยาง อ าเภอศรีเทพ และอ าเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ ลักษณะลุ่มน้ าวางตัว
ตามแนวทิศตะวันออก-ตะวันตก เป็นส่วนหนึ่งของลุ่มน้ าสาขาแม่น้ าป่าสักส่วนที่ 3 แม่น้ าสายส าคัญของ
พื้นที่ ได้แก่ แม่น้ าป่าสัก ล าน้ าที่ส าคัญอื่น ๆ ได้แก่ ล าก าเหียง ห้วยขอนยางขวาง ห้วยยาง ห้วยยางน้อย
ห้วยโกรกหัวผี คลองหลักเขต คลองปลาซิว คลองน้อย ห้วยบ้า ห้วยตะขบ และห้วยศรีเทพ ไหลผ่านพื้นที่
จากทิศตะวันออกลงไปแม่น้ าป่าสักทางทิศตะวันตกของพื้นที่โครงการ
จากการประเมินปริมาณน้ าไหลบ่าในพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยยาง อ าเภอศรีเทพ และอ าเภอวิเชียรบุรี
จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยรวมประมาณ 15,922,263.70 ลูกบาศก์เมตรต่อปี ดังนั้น ควรจัดท าระบบอนุรักษ์
ดินและน้ า มีก่อสร้างแหล่งน้ าขนาดเล็ก อาคารชะลอความเร็วของน้ า และฝายทดน้ าเป็นระยะ ๆ ตาม
แบบโครงสร้างของกรมพัฒนาที่ดิน เพื่อเก็บกักน้ าไว้ใช้ในฤดูแล้ง และดักตะกอนดินไม่ให้ไหลลงสู่แหล่งน้ า
ด้านล่าง สร้างความชุ่มชื้นให้กับดิน ส่งผลเกษตรกรใช้พื้นที่เกษตรกรรมของตนได้อย่างยั่งยืน
สภาพการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยยาง อ าเภอศรีเทพ และอ าเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ ปี
พ.ศ. 2563 มีเนื้อที่รวม 150,116 ไร่ สามารถจ าแนกประเภทการใช้ที่ดินได้เป็น 5 ประเภทหลัก ดังนี้ (1)
พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง มีเนื้อที่ 6,227 ไร่ หรือร้อยละ 4.15 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า ได้แก่ หมู่บ้าน 31