Page 61 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 61

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          45






                           การจ าแนกเขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและที่ดินป่าไม้ในเขตป่าสงวนแห่งชาติตาม

               มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 10 และ 17 มีนาคม 2535 ได้ให้ความเห็นชอบตามมติของคณะกรรมการนโยบาย

               ป่าไม้แห่งชาติ และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่องการจ าแนกเขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและที่ดิน
               ป่าไม้ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ซึ่งได้จ าแนกเขตป่าสงวนแห่งชาติ ออกเป็น 3 เขตดังนี้ เขตพื้นที่ป่าเพื่อการ

               อนุรักษ์ (โซน C) เขตพื้นที่ป่าเพื่อเศรษฐกิจ (โซน E) และเขตพื้นที่ป่าที่เหมาะสมต่อการเกษตร (โซน A)

               เมื่อจ าแนกป่าตามเขตป่าสงวนแห่งชาติ พบว่า พื้นที่ลุ่มน้ าคลองกุยอยู่ในเขตป่ากุยบุรี (ตารางที่ 3-7) และ
               สามารถจ าแนกเขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและที่ดินป่าไม้ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ (ตารางที่ 3-8)

               ตารางที่ 3-7  พื้นที่เขตป่าสงวนแห่งชาติในพื้นที่พื้นที่ลุ่มน้ าคลองกุย อ าเภอกุยบุรี และอ าเภอสามร้อยยอด
                           จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

                                                                                   เนื้อที่
                                   ป่าสงวนแห่งชาติ
                                                                             ไร่           ร้อยละ
                พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ                                         278,635          84.29

                 - ป่ากุยบุรี                                                   278,635         84.29

               ที่มา: กรมป่าไม้ (2560)


               ตารางที่ 3-8  พื้นที่เขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและที่ดินป่าไม้พื้นที่ลุ่มน้ าคลองกุย อ าเภอกุยบุรี และ
                            อ าเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

                                                                                  เนื้อที่
                          เขตป่าจ าแนกในเขตป่าสงวนแห่งชาติ
                                                                            ไร่           ร้อยละ

                พื้นที่ป่าอนุรักษ์ (โซน C)                                     223,840          67.71
                พื้นที่ป่าเศรษฐกิจ (โซน E)                                      63,280          19.14

               ที่มา: กรมป่าไม้ (2560)




                           ตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่อง การก าหนดชั้นคุณภาพลุ่มน้ า เพื่อให้มีการอนุรักษ์ทรัพยากร  ที่

               เหมาะสมจึงได้แบ่งพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ าออกเป็น 6 ชั้น คือ พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1A พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1 พื้นที่ลุ่ม

               น้ าชั้น 2 พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 3 พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 4 และพื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 5 จากข้อก าหนดการใช้ประโยชน์และการ
               จัดการพื้นที่ชั้นลุ่มน้ าคุณภาพต่าง ๆ สรุปสาระส าคัญได้ คือ การใช้ประโยชน์พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1 และพื้นที่

               ลุ่มน้ าชั้น 2 ซึ่งเป็นพื้นที่ทรัพยากรธรรมชาติที่ส าคัญที่ต้องสงวนรักษาไว้เป็นแหล่งต้นน้ าล าธารและเป็น

               พื้นที่ป่าไม้ของประเทศ เนื่องจากมีลักษณะและสมบัติที่อาจมีผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมจากการ
               เปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินได้ง่ายและรุนแรง ไม่ควรจะเปลี่ยนแปลงพื้นที่เพื่อใช้ท าการเกษตร ส าหรับการใช้

               ประโยชน์พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 3 4 และพื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 5 นั้น ให้ใช้ท าการเกษตรได้แต่ต้องมีมาตรการตามข้อ
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66