Page 62 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 62

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             46



                   ก าหนดการใช้ประโยชน์พื้นที่ลุ่มน้ า ได้แก่ มาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้ า และการป้องกันการชะล้าง

                   พังทลายของดิน เป็นต้น ดังนั้นข้อก าหนดต่าง ๆ จึงมีมาตรการที่เข้มงวดแตกต่างกัน เพื่อป้องกันการเสื่อม
                   โทรมของดิน และให้สามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่างยั่งยืนต่อไปพื้นที่โครงการฯ รายละเอียดแสดงใน

                   ตารางที่ 3-9 ประกอบด้วย ชั้นคุณภาพลุ่มน้ า ดังนี้

                              1) พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1A เป็นพื้นที่ลุ่มน้ าชั้นที่ 1 ซึ่งมีสภาพเป็นป่าสมบูรณ์ก่อนปี 2525 โดยพื้น
                   ที่นี้ควรสงวนรักษาไว้เป็นป่าต้นน้ าล าธาร (ห้ามมีการใช้ประโยชน์อย่างอื่น) มีเนื้อที่ประมาณ 142,166 ไร่

                   หรือร้อยละ 43.00 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า
                              2) พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 1B เป็นพื้นที่ลุ่มน้ าชั้นที่ 1 ซึ่งสภาพป่าถูกบุกรุก หรือมีการเปลี่ยนแปลงไป

                   เพื่อพัฒนาการใช้ที่ดินรูปแบบอื่นก่อน ปี 2525 โดยพื้นที่นี้ควรสงวนรักษาไว้เป็นป่าต้นน้ าล าธาร และ

                   ควบคุมการใช้ประโยชน์เป็นพิเศษ มีเนื้อที่ประมาณ 290 ไร่ หรือร้อยละ 0.09 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า
                              3) พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 2 เป็นพื้นที่มีความลาดชันค่อนข้างสูง ซึ่งมีคุณภาพเหมาะสมต่อการเป็น

                   ป่าต้นน้ าล าธาร และสามารถน ามาใช้ประโยชน์เพื่อกิจการที่ส าคัญ เช่น การท าเหมืองแร่ สวนยางพารา
                   หรือพืชที่มีความมั่นคงต่อเศรษฐกิจ มีเนื้อที่ประมาณ 57,254 ไร่ หรือร้อยละ 17.32 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า

                              4) พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 3 เป็นพื้นที่มีความลาดเทสูง สามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้ทั้งกิจกรรมท า

                   ไม้ เหมืองแร่ และสามารถใช้พื้นที่เพื่อการเกษตรได้โดยถ้าเป็นบริเวณที่เป็นดินลึกควรปลูกไม้ผล หรือไม้
                   ยืนต้น แต่ถ้าเป็นบริเวณที่เป็นดินตื้นควรปลูกป่าและทุ่งหญ้า มีเนื้อที่ประมาณ 39,228 ไร่ หรือร้อยละ

                   11.87 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า

                              5) พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 4 เป็นพื้นที่มีความลาดชันต่ า และป่าถูกบุกรุกเป็นพื้นที่ใช้ประโยชน์เพื่อ
                   กิจการท าไม้ เหมืองแร่ และสามารถใช้พื้นที่เพื่อการเกษตรได้ โดยถ้าเป็นบริเวณที่เป็นดินลึกและมี

                   ความลาดชันมากควรปลูกไม้ผล แต่ถ้าเป็นบริเวณที่มีความลาดชันน้อยจะใช้ประโยชน์เพื่อการปลูกพืชไร่
                   ได้ มีเนื้อที่ประมาณ 66,638 ไร่ หรือร้อยละ 20.16 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า

                              6) พื้นที่ลุ่มน้ าชั้น 5 เป็นพื้นที่ราบลุ่ม มีเนื้อที่ประมาณ 25,007 ไร่ หรือร้อยละ 7.56 ของ

                   เนื้อที่ลุ่มน้ า
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67