Page 59 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 59

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          43



                       1) ปริมาณน้ าท่า โดยวิธี Reginal Runoff equation

                         จากการค านวณปริมาณน้ าท่า ด้วยวิธี Reginal Runoff equation ซึ่งอาศัยความสัมพันธ์
               แบบรีเกรซชั่น (regression) ระหว่างปริมาณน้ านองสูงสุดเฉลี่ยและพื้นที่รับน้ าฝน ซึ่งจากข้อมูลพื้นที่

               ลุ่มน้ าคลองกุยได้แบ่งพื้นที่รับน้ าออกเป็น 5 พื้นที่ ได้แก่ 168.01 117.65 95.13 71.30 และ 76.83

               ตารางกิโลเมตร ตามล าดับ มีพื้นที่รับน้ ารวมเท่ากับ 528.93 ตารางกิโลเมตร สามารถค านวณปริมาณ
               น้ าท่าได้จากสมการ


                                                = 0.248  1.007

                        สามารถวิเคราะห์ปริมาณน้ าเฉลี่ยรายปีและพื้นที่รับน้ าที่ได้จากสมการที่ 3 เท่ากับ 43.18 30.16

               24.35 18.21 และ 19.65 ลูกบาศ์กเมตร ตามล าดับ แสดงให้เห็นว่าลุ่มน้ าคลองกุยมีศักยภาพในการ
               พัฒนาด้านการเก็บกักน้ าท่า เพื่อใช้ในพื้นที่การเกษตรได้





                        แนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหาทรัพยากรน้ าของพื้นที่ควรเริ่มต้นที่ชุมชนและท้องถิ่นคือการ
               พัฒนาแหล่งน้ าของชุมชนและท้องถิ่น ว่าควรเป็นการพัฒนาแหล่งกักเก็บน้ าขนาดเล็กด้วยเหตุผลของ

               ข้อจ ากัดในงบประมาณ ความรวดเร็ว และการจัดการภายในพื้นที่เฉพาะการพัฒนาแหล่งน้ าขนาดเล็กจึง
               เป็นทางเลือกที่เหมาะสมและมีความส าคัญต่อชุมชน ดังนั้น เพื่อให้เกิดภาพรวมในการแก้ไขปัญหา

               ทรัพยากรน้ าของพื้นที่ให้มีประสิทธิภาพ และมีความเชื่อมโยงกันระหว่างการพัฒนาทรัพยากรน้ าและมิติ

               อื่น ๆ ทั้งในด้านการอนุรักษ์ดินและน้ า การฟื้นฟูสภาพป่า และการใช้ที่ดิน อย่างเป็นรูปธรรม ให้เกิด
               ความรู้ความเข้าใจในศักยภาพของพื้นที่ท้องถิ่นของตนเองว่ามีปริมาณต้นทุนเดิมและความเป็นไปได้ใน

               การพัฒนาทรัพยากรน้ าเพิ่มมากขึ้นเพียงใด ในพื้นที่ศึกษาลุ่มน้ าคลองกุยที่ผ่านมาในด้านการพัฒนาแหล่ง

               น้ าต้นทุนไม่ได้มีโครงการขนาดใหญ่ มีเพียงโครงการพัฒนาแหล่งน้ าขนาดเล็กโดยหน่วยงานต่าง ๆ (ตาราง
               ที่ 3-5)

               ตารางที่ 3-5  แหล่งน้ าต้นทุนที่ด าเนินการผ่านโครงการพัฒนาแหล่งน้ าต้นทุน อ าเภอกุยบุรี

                           และอ าเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
                 ล าดับที่  ประเภทโครงการ   บ้าน     ต าบล    อ าเภอ      จังหวัด         หน่วยงาน
                   1        อ่างเก็บน้ า   รวมไทย   หาดขาม    กุยบุรี   ประจวบคีรีขันธ์   กรมชลประทาน

                   2        อ่างเก็บน้ า   ย่านซื่อ   หาดขาม   กุยบุรี   ประจวบคีรีขันธ์   กรมชลประทาน
                   3        อ่างเก็บน้ า   ย่านซื่อ   หาดขาม   กุยบุรี   ประจวบคีรีขันธ์   กรมชลประทาน
                   4        อ่างเก็บน้ า   ย่านซื่อ   หาดขาม   กุยบุรี   ประจวบคีรีขันธ์   กรมชลประทาน






                    ข้อมูลขอบเขตที่ดินของรัฐด้านทรัพยากรป่าไม้ ดังตารางที่ 3-6
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64