Page 7 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 7

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน







                       ในการคัดเลือกพื้นที่เพื่อด าเนินการ โดยอาศัยปัจจัยหลักและเกณฑ์ที่ก าหนด ส าหรับพิจารณา

                   จัดล าดับความส าคัญมี 6 ด้าน ประกอบด้วย (1) ระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน

                   (2) เอกสารสิทธิ์ (3) การใช้ที่ดิน (4) กิจกรรมที่ด าเนินงานในพื้นที่ (5) แผนปฏิบัติงานของพื้นที่ (6) ความ
                   ต้องการของชุมชน พบว่า บ้านตาลสอง บ้านตาล ต.โคกสี บ้านค าเจริญ บ้านหนามแท่งน้อย

                   บ้านหนามแท่งใหญ่ ต าบลบ้านถ่อน บ้านค าชน บ้านดงต้อง ต าบลโพนสูง เป็นพื้นที่ที่มีความส าคัญอันดับ

                   ต้น ๆ ที่คัดเลือกเป็นพื้นที่ด าเนินการ รองลงมา คือ บ้านโพนสว่าง บ้านค าบก บ้านยางชุม ต าบลโพนสูง
                   บ้านโนนถ่อน บ้านหนองตาล บ้านโพธิ์ชัย ต าบลบ้านถ่อน บ้านค้อ ต าบลสว่างแดนดิน ตามล าดับ

                   ซึ่งในแต่ละสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่มีลักษณะใกล้เคียงกัน อย่างไรก็ตาม เพื่อให้การด าเนินงานสอดคล้องกับ
                   สภาพปัญหาของพื้นที่และความต้องการของชุมชน สามารถน ามาจัดท าแผนการด าเนินงานแบ่งออกเป็น

                   4 ระยะ โดยมีเป้าหมายใน ระยะที่ 1 (ปี 2565) พื้นที่ 20,000 ไร่ระยะที่ 2 (ปี 2566) พื้นที่ 10,000 ไร่
                   ระยะที่ 3 (ปี 2567) พื้นที่ 10,000 ไร่ และระยะที่ 4 (ปี 2568) พื้นที่ 10,000 ไร่ โดยก าหนดแนวทางและ

                   มาตรการที่มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหา แผนการใช้ที่ดินบนพื้นฐานการมีส่วนร่วม ดังนี้



                       พื้นที่ลุ่มน้ าห้วยศาลจอด ทั้งลุ่มน้ ามีระดับความรุนแรงน้อย อัตราการสูญเสียดิน 0-2 ตัน ต่อไร่ต่อปี

                   ซึ่งมาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินได้แก่ การไถพรวนและการปลูก
                   พืชตามแนวระดับ การยกร่องตามแนวระดับ คันดินเบนน้ า แนวหญ้าแฝกทางล าเลียง แนวคันหญ้าแฝก

                   ทางระบายน้ า ฝายชะลอน้ า บ่อดักตะกอน การปรับระดับและปรับปรุงแปลงนา


                                                                                                   ดินที่พบ
                   ส่วนใหญ่มีปัญหาด้านความอุดมสมบูรณ์ต่ า และดินตื้น จึงก าหนดมาตรการคือส่งเสริมการปลูกพืชปุ๋ยสด

                   โดยเฉพาะปอเทือง เพื่อปรับปรุงบ ารุงดิน และเพิ่มธาตุอาหารในดิน การใช้ปุ๋ยหมัก และน้ าหมักชีวภาพ ใน
                   ส่วนของพื้นที่นาข้าวที่ได้รับผลกระทบจากน้ าซับน้ าเค็มพื้นที่มีประมาณ 400 ไร่ จ าเป็นต้องปรับรูปแปลง

                   นา และปรับปรุงบ ารุงดินด้านพืชปุ๋ยสด ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก

                                                                                          พื้นที่ทางการเกษตร

                   ของลุ่มน้ าห้วยศาลจอดประสบกับสภาพปัญหาน้ าท่วมในฤดูน้ าหลากไหลบ่าท่วมพื้นที่ตามแนวล าห้วย

                   และขาดแคลนน้ าในบางช่วงของฤดูการเพาะปลูก จึงก าหนดมาตรการด้านสภาพปัญหา และความต้องการ
                   ของชุมชนคือการขุดลอกตกแต่งแนวทางน้ าห้วยศาลจอด และล าห้วยสาขา อาคารชะลอน้ าใน

                   ห้วยศาลจอด และฝายชะลอน้ าในล าห้วยสาขา บ่อน้ าในไร่นา คลองส่งน้ า และระบบบ่อบาดาล
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12