Page 50 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา
P. 50

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          36


               ภูมิสัณฐาน            พื้นที่เกือบราบ หรือที่เกือบราบ (Peneplain)

               วัตถุต้นก าเนิดดิน    เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่หรือตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบที่ถูกชะมา
                                    ทับถมอยู่บริเวณพื้นที่ที่เหลือค้างจากการกัดกร่อน

               การระบายน้ า          ดีปานกลาง

               การซึมผ่านได้ของน้ า  ปานกลาง               การไหลบ่าของน้ าบนผิวดิน    ปานกลาง
               ลักษณะสมบัติของดิน  ดินลึกมาก ดินบนเป็นดินทรายปนดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย สีน้ าตาลเข้ม

                                     หรือน้ าตาล ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย หรือดินร่วนเหนียว สีน้ าตาล
                                     หรือสีน้ าตาลปนเหลือง อาจพบสีเทาปนน้ าตาล สีเทา หรือสีเทาปนชมพู

                                     ในดินล่างที่ลึกลงไป พบจุดประสีน้ าตาลแก่หรือสีเหลืองปนแดง ภายในความลึก

                                     ก่อน 100 เซนติเมตร จากผิวดิน อาจพบก้อนเหล็กสะสมในดินล่าง ปฏิกิริยาดิน
                                     เป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) ในดินบน และเป็นกรดปานกลาง

                                     ถึงด่างปานกลาง (pH 6.0-8.0) ในดินล่าง
               ข้อจ ากัด             ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย เสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ า

                                     ในฤดูเพาะปลูก

                                     ชุดดินคงที่พบมี 1 หน่วยแผนที่ดิน ได้แก่
                                     - หน่วยแผนที่ Kng-slB คือ ชุดดินคง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย

               ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 920 ไร่ หรือร้อยละ 0.86 ของพื้นที่ลุ่มน้ า

                          5) ชุดดินขามทะเลสอ (Kts)
               การจ าแนกดิน          Coarse-loamy, mixed, active, isohyperthermic Aquic Natrustalfs.

               สภาพพื้นที่           ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์
               ภูมิสัณฐาน            ส่วนต่ าของพื้นที่เกือบราบ

               วัตถุต้นก าเนิดดิน     ตะกอนเนื้อหยาบ และหรือการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ของหินทราย และได้รับ

                                     อิทธิพลจากหินเกลือ
               การระบายน้ า          ดีปานกลางถึงค่อนข้างเลว

               การซึมผ่านได้ของน้ า  ปานกลางถึงช้า                การไหลบ่าของน้ าบนผิวดิน     ช้า
               ลักษณะสมบัติของดิน  ดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย สีน้ าตาลปนเทา ดินล่างเป็น

                                     ดินร่วน หรือดินร่วนปนทราย สีเทาหรือสีเทาปนชมพู ซึ่งเป็นชั้นสะสมโซเดียม

                                     ที่แลกเปลี่ยนได้ พบจุดประสีน้ าตาล เหลืองปนน้ าตาล ตลอดหน้าตัดดิน ใน
                                     ฤดูแล้ง พบคราบเกลือลอยหน้า ส่วนในดินล่างลึกกว่า 1 เมตร เป็นดินร่วนสีเทา

                                     หรือเทาปนเขียว ลึกลงไปพบชั้นดินเหนียวปนทราย ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึง

                                     เป็นกลาง (pH 5.0-7.0) ในดินบน และด่างเล็กน้อยถึงเป็นด่างจัด (pH 7.5-8.5)
                                     ในดินล่าง บางบริเวณพบก้อนปูนปะปน
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55