Page 49 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา
P. 49

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             35


                   ลักษณะสมบัติของดิน  ดินลึกมาก เนื้อดินเป็นดินทรายปนดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย สีน้ าตาลปนเทา

                                         ดินล่างเป็นดินร่วนปนทราย และเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายในดินล่างที่ลึกลง
                                         ไป มีสีน้ าตาลหรือสีน้ าตาลปนเหลือง พบจุดประที่ความลึกมากกว่า 100

                                         เซนติเมตร ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) ในดินบน และ

                                         เป็นกรดจัดมาก (pH 4.5-5.0) ในดินล่าง
                   ข้อจ ากัด            เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย ความอุดมสมบูรณ์ต่ า เสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ าในฤดู

                                        เพาะปลูก
                                        ชุดดินห้วยแถลงที่พบมี 1 หน่วยแผนที่ดิน ได้แก่

                                         -  หน่วยแผนที่ Ht-slB คือ ชุดดินห้วยแถลง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย

                   ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 4,157 ไร่ หรือร้อยละ 3.88 ของพื้นที่ลุ่มน้ า
                              3) ชุดดินกุลาร้องไห้ (Ki)

                   การจ าแนกดิน         Fine-loamy, mixed, active, isohyperthermic Typic Natraqualfs.
                   สภาพพื้นที่          ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์

                   ภูมิสัณฐาน           ตะพักล าน้ า

                   วัตถุต้นก าเนิดดิน   ตะกอนน้ าพามาทับถม
                   การระบายน้ า         เลว

                   การซึมผ่านได้ของน้ า  ปานกลางถึงช้า               การไหลบ่าของน้ าบนผิวดิน     ช้า

                   ลักษณะสมบัติของดิน   ดินลึกมาก ดินบนหนา 10-25 เซนติเมตร มีเนื้อดินเป็นดินร่วนหรือดินร่วน
                                         ปนทราย สีน้ าตาลปนเทา สีน้ าตาล หรือสีน้ าตาลอ่อน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัด

                                         มากถึงเป็นกรดเล็กน้อย มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH 5.0-6.5) ส่วนดินล่าง
                                         ซึ่งเป็นชั้นสะสมเกลือ มีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนดินเหนียว หรือดินร่วนเหนียว

                                         ปนทราย สีเทาปนชมพู หรือสีเทาอ่อน หรือสีน้ าตาลปนเทา ปฏิกิริยาดินเป็น

                                         ด่างเล็กน้อยถึงเป็นด่างจัด มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH 7.5-8.5) บางบริเวณ
                                         พบก้อนปูนปะปน มีจุดประสีน้ าตาลแก่ และ/หรือ สีน้ าตาลปนเหลือง หรือสี

                                         เหลืองปนน้ าตาล ตลอดทุกชั้นดิน ในฤดูแล้งจะมีคราบเกลืออยู่บนผิวหน้าดิน
                   ข้อจ ากัด            เป็นดินเค็มด่าง มีเกลือโซเดียม ซึ่งมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช มีโครงสร้าง

                                        ไม่เหมาะสม

                                         ชุดดินกุลาร้องไห้ที่พบมี 1 หน่วยแผนที่ ได้แก่
                                         - หน่วยแผนที่ดิน Ki-slA คือชุดดินกุลาร้องไห้ มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย

                   ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 4,0220 ไร่ หรือร้อยละ 3.75 ของพื้นที่ลุ่มน้ า

                              4) ชุดดินคง (Kng)
                   การจ าแนกดิน         Fine-loamy, siliceous, isohyperthermic Oxyaquic (Kandic) Paleustalfs.

                   สภาพพื้นที่          ค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีความลาดชัน 1-5 เปอร์เซ็นต์
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54