Page 48 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา
P. 48

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          34








                          จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลทรัพยากรดินในระดับชุดดิน มาตราส่วน 1:25,000

               ในพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยท่าแค ซึ่งมีเนื้อที่ครอบคลุม 107,203 ไร่ สามารถจ าแนกเป็นหน่วยแผนที่ได้ 17 หน่วย

               แผนที่ (ตารางที่ 3-3 และภาพที่ 3-4) ประกอบด้วย ระดับหน่วยจ าแนก มี 9 ชุดดิน (9 หน่วยแผนที่)
               ดินคล้าย 4 ดิน (5 หน่วยแผนที่) หน่วยเชิงซ้อน 1 หน่วย (1 หน่วยแผนที่) และ 2 หน่วยแผนที่เบ็ดเตล็ด ดังนี้

                          1) ชุดดินจัตุรัส (Ct)
               การจ าแนกดิน          Fine, mixed, active, isohyperthermic Typic Haplustalfs.

               สภาพพื้นที่           ค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีความลาดชัน 1-5 เปอร์เซ็นต์

               ภูมิสัณฐาน            บริเวณพื้นที่ที่เหลือค้างจากการกัดกร่อนของหินตะกอนเนื้อทรายแป้งที่มีปูนปน
               วัตถุต้นก าเนิดดิน   เกิดจากการผุพังสลายตัวอยู่กับที่ของวัสดุที่พัฒนามาจากหินตะกอนเนื้อทราย

                                    แป้งที่มีปูนปน และมีแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นองค์ประกอบสูง

               การระบายน้ า          ดี
               การไหลบ่าของน้ า      ปานกลาง       การไหลบ่าของน้ าบนผิวดิน     ปานกลางถึงเร็ว

               ลักษณะสมบัติของดิน  ดินลึกมากปานกลางถึงชั้นหินพื้น ดินบนเป็นดินร่วนเหนียว สีน้ าตาลปนแดง
                                     ดินล่างเป็นดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแป้ง สีน้ าตาลปนแดงหรือสีแดง

                                     ในช่วง 50-100 ซม จะพบชั้นหินผุ ถัดจากชั้นหินผุจะเป็นหินแข็งซึ่งเป็นหินพื้น

                                     ปฏิกิริยาดินเป็นกรดเล็กน้อยถึงเป็นด่างปานกลาง (pH 6.5-8.0) ในดินบน และ
                                     เป็นกลางถึงด่างปานกลาง (pH 7.0-8.0) ในดินล่าง

               ข้อจ ากัด              สมบัติทางกายภาพของดินไม่ดี ดินค่อนข้างแน่นทึบ น้ าซึมผ่านได้ช้า มีเศษหิน
                                     ปะปน อาจขาดแคลนน้ าได้ในช่วงฤดูเพาะปลูก

                                     ดินจัตุรัสที่พบมี 1 หน่วยแผนที่ดิน ได้แก่

                                      - หน่วยแผนที่ดิน Ct-siclB คือชุดดินจัตุรัส มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียวปน
               ทรายแป้ง ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 15,034 ไร่ หรือร้อยละ 14.03 ของพื้นที่ลุ่มน้ า

                          2) ชุดดินห้วยแถลง (Ht)

               การจ าแนกดิน          Coarse-loamy, mixed, isohyperthermic Typic (Kandic) Paleustults.
               สภาพพื้นที่           ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 0-12 เปอร์เซ็นต์

               ภูมิสัณฐาน            พื้นที่เกือบราบ หรือที่เกือบราบ (Peneplain)

               วัตถุต้นก าเนิดดิน    เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ หรือตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบที่ถูก
                                    ชะมาทับถมอยู่บริเวณพื้นที่ที่เหลือค้างจากการกัดกร่อน

               การระบายน้ า          ดี
               การซึมผ่านได้ของน้ า  เร็ว          การไหลบ่าของน้ าบนผิวดิน     ปานกลางถึงเร็ว
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53