Page 49 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองแอ่ง อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
P. 49

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             31



                   การชะล้างพังทลายของดินได้สูง ส่วนดินที่มีค่า K-factor ต่ า (ยากต่อการกร่อน) จะมีแนวโน้มเกิด

                   การชะล้างพังทลายของดินได้ต่ า
                         ดินที่พบเป็นส่วนใหญ่ของพื้นที่ อยู่ในกลุ่มดินที่มีวัตถุต้นก าเนิดดินพวกหินตะกอนเนื้อละเอียด ซึ่งมี

                   เนื้อดินเป็นกลุ่มดินเหนียว ได้แก่ ชุดดินคลองชาก (Kc) ชุดดินหนองบอน (Nb) ชุดดินห้วยยอด (Ho)

                   ชุดดินตราด (Td) และชุดดินโป่งน้ าร้อน (Pon) คิดเป็นร้อยละ 43.3 ของเนื้อที่ทั้งหมด มีค่าปัจจัยความ
                   คงทนของดิน (K-factor) ต่ ากว่าดินในที่ลุ่มที่มีวัตถุต้นก าเนิดดินพวกตะกอนน้ าพาและปริมาณอินทรียวัตถุ

                   ต่ า ได้แก่ชุดดินรือเสาะ (Ro) ดินคล้ายชุดดินรือเสาะที่เป็นดินร่วนละเอียด (Ro-fl) ชุดดินแกลง (Kl) และ
                   ชุดดินพัทลุง(Ptl) คิดป็นร้อยละ 15.09 ของเนื้อที่ทั้งหมด

                         นอกจากปัจจัยด้านลักษณะสมบัติของดินแล้ว ปัจจัยด้านสภาพพื้นที่และการใช้ประโยชน์ที่ดินก็มี

                   ผลต่อการชะล้างพังทลายของดิน โดยเฉพาะความลาดชันของพื้นที่จะมีผลโดยตรงต่อการชะล้างพังทลาย
                   ของผิวหน้าดิน การไหลบ่าของน้ าผ่านผิวหน้าดิน ระดับน้ าใต้ดิน ความชื้นในดิน การระบายน้ า ความยาก

                   ง่ายต่อการกักเก็บน้ าและการเขตกรรม ดังนั้น สภาพพื้นที่จึงเป็นปัจจัยที่ส าคัญอย่างหนึ่งที่ควบคุมลักษณะ
                   ของการใช้ประโยชน์ที่ดินซึ่งส่งผลต่อการชะล้างพังทลายของดินด้วย โดยเฉพาะการปลูกไม้ผลและไม้ยืน

                   ต้นเชิงเดี่ยว เช่น ยางพารา ปาล์มน้ ามัน เงาะ ทุเรียน ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจที่ปลูกเป็นส่วนใหญ่และปลูกใน

                   พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ท าให้ดินมีอัตราการถูกชะล้างพังทลายของดินสูง เนื่องจากปลูกในพื้นที่ที่มีความ
                   ลาดชันสูงและมีสิ่งปกคลุมผิวหน้าดินน้อย ส่งผลท าให้ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลง รวมทั้งในพื้นที่มีการ

                   ใช้เครื่องจักรกลในการไถพรวนดินบ่อยครั้ง เป็นสาเหตุส าคัญที่ท าให้สมบัติดินทางกายภาพลดลง และ

                   ส่งเสริมให้เกิดการชะล้างพังทลายของดินเพิ่มสูงขึ้น
                         พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนหรือพื้นที่ลาดชันสูง (slope complex or steep slope) มีความลาดชัน

                   มากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ เป็นพื้นที่ที่ยังไม่การจ าแนกประเภทดิน ซึ่งกระจายตัวเป็นส่วนใหญ่ของพื้นที่ คิด
                   เป็นร้อยละ 41.17 ของเนื้อที่ทั้งหมด ไม่เหมาะสมต่อการปลูกพืชทุกชนิด เนื่องจากมีอัตราการชะล้าง

                   พังทลายสูงมาก การจัดการดูแลรักษาล าบาก ท าให้เกิดการชะล้างพังทลายรุนแรงมาก แต่ถ้ามีความ

                   จ าเป็นต้องน าพื้นที่นี้มาใช้ประโยชน์ทางด้านการเกษตร มีความจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพิจารณาถึงชนิด
                   พืชที่จะปลูกร่วมกับลักษณะของดินภายใต้การจัดการอนุรักษ์ดินและน้ าเป็นพิเศษหรือท าในระบบวน

                   เกษตรสภาพพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนหรือพื้นที่ลาดชันสูง สามารถแบ่งย่อยออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้
                         1) พื้นที่สูงชัน (steep slope) มีความลาดชัน 35-50 เปอร์เซ็นต์

                         2) พื้นที่สูงชันมาก (very steep slope) มีความลาดชัน 50-75 เปอร์เซ็นต์

                         3) พื้นที่สูงชันมากที่สุด (extremely steep slope) มีความลาดชันมากกว่า 75 เปอร์เซ็นต์
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54