Page 125 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองแอ่ง อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
P. 125

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          92



                           5. พื้นที่เกษตรกรรมมีความลาดชัน 12 – 35 เปอร์เซ็นต์ มาตรการที่เหมาะสมตามหลัก

               วิชาการ คือ การไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ (contour cultivation) การยกร่องตามแนวระดับ
               (ridging) การสร้างคันดิน (terrace, bench terrace) คันดินเบนน้ า (division terrace) แนวหญ้าแฝก

               ทางล าเลียง (farm road) คูรับน้ าขอบเขา (hillside ditch) ทางระบายน้ า (waterways) ฝายชะลอน้ า

               (check dam, weir) บ่อดักตะกอน (pond) มาตรการปรับปรุงบ ารุงดิน อ่างเก็บน้ า สระเก็บน้ าฝายทดน้ า
               การปรับปรุงล าน้ า คลองส่งน้ า ระบบส่งน้ าด้วยท่อ และระบบให้น้ าแบบ micro irrigation







                           ในการบริหารจัดการพื้นที่อนุรักษ์ดินและน้ า จะพิจารณาการบริหารจัดการเป็นลุ่มน้ า ดังนั้น
               จึงได้น าผลจากการคัดเลือกพื้นที่ด าเนินการจากการจัดล าดับความส าคัญมาพิจารณาเพื่อก าหนดพื้นที่และ

               มาตรการ โดยแบ่งเป็นลุ่มน้ าขนาดย่อย ๆ เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงาน และการติดตามประเมินผล

               ตัวชี้วัด โดยในปีงบประมาณ 2564 สามารถด าเนินการได้ในพื้นที่ หมู่ 2 บ้านช้างทูน หมู่ 3 บ้านหนอง
               แฟบ หมู่ 4 บ้านหนองมาตร หมู่ 5 บ้านหนองไม้หอม ต าบลช้างทูน ซึ่งมีขนาดพื้นที่รวมกว่า 10,000 ไร่

               โดยก าหนดมาตรการด้านการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ าประเภทที่ท าในพื้นที่ถือครองของเกษตรกรที่มี
               ระดับการชะล้างพังทลายสูง และปานกลาง ได้แก่ แนวหญ้าแฝก ทางล าเลียง (farm road) ทางระบายน้ า

               (waterways) ฝายชะลอน้ า (check dam weir) บ่อดักตะกอน (pond) และระบบให้น้ าแบบ micro

               irrigation และระบบอนุรักษ์ดินและน้ าที่ต้องท าในพื้นที่สาธารณะ ได้แก่ อ่างเก็บน้ า สระเก็บน้ า ฝายทดน้ า
               คลองส่งน้ า และระบบส่งน้ าด้วยท่อ
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130