Page 124 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองแอ่ง อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
P. 124

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             91



                              3. มาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อพัฒนาแหล่งน้ า พื้นที่ทางการเกษตร พบปัญหา

                   การขาดแคลนน้ าส าหรับพื้นที่เกษตรกรรรม จึงก าหนดมาตรการตามสภาพปัญหาและความต้องการของ
                   ชุมชน คือ อ่างเก็บน้ า สระเก็บน้ า ฝายทดน้ า การปรับปรุงล าน้ า คลองส่งน้ า ระบบส่งน้ าด้วยท่อและระบบ

                   ให้น้ าแบบ micro irrigation

                                 ข้อแนะน าเพิ่มเติมในการใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อแก้ไขปัญหาให้สอดคล้องตาม
                   สภาพของพื้นที่

                                 การอนุรักษ์ดินและน้ า ประกอบด้วย มาตรการหลายอย่างเป็นเครื่องมือในการปรับปรุง
                   พื้นที่เพื่อประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อม การน ามาตรการต่าง ๆ ไปใช้ต้องค านึงถึงสภาพของพื้นที่ใน

                   ด้านต่าง ๆ ดังนั้นในการออกแบบส าหรับพื้นที่หนึ่ง ๆ จึงจ าเป็นจะต้องใช้หลายมาตรการร่วมกันเพื่อให้เกิด

                   ประโยชน์ และการยอมรับของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตามแนวทางปฏิบัติและมาตรฐานของกรมพัฒนาที่ดิน
                   ซึ่งในแต่ละมาตรการก็จะมีวิธีแยกย่อยต่อไปอีก โดยสามารถให้ค าแนะน าส าหรับพื้นที่ที่มีความลาดชัน

                   ต่างกันไป แต่ต้องพิจารณาตามความเหมาะตามสภาพการใช้ที่ดิน และคุณสมบัติทางกายภาพ (ความลึก
                   หน้าดิน) ประกอบการออกแบบการจัดการพื้นที่ด้วย

                                 1) พื้นที่ป่าไม้ตามกฎหมาย ให้ค าแนะน าในการน ามาตรการโดยให้หน่วยงานเจ้าของ

                   พื้นที่น าไปด าเนินงาน ได้แก่ ฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ ปลูกแฝก ฝายชะลอน้ า การปรับปรุงล าน้ า
                                 2) พื้นที่เกษตรกรรมมีความลาดชันน้อยกว่า 2 เปอร์เซ็นต์ มาตรการที่เหมาะสมตามหลัก

                   วิชาการ คือ การพรวนดินล่าง การจัดรูปแปลงทางล าเลียง (farm road) มาตรการปรับปรุงบ ารุงดิน

                   อ่างเก็บน้ า สระเก็บน้ า ฝายทดน้ า การปรับปรุงล าน้ า คลองส่งน้ า ระบบส่งน้ าด้วยท่อ ระบบให้น้ าแบบ
                   micro irrigation

                                 3) พื้นที่เกษตรกรรมมีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ มาตรการที่เหมาะสมตามหลัก
                   วิชาการ คือ การไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ (contour cultivation) การยกร่องตามแนวระดับ

                   (ridging) การสร้างคันดิน (terrace, bench terrace) คันดินเบนน้ า (division terrace) แนวหญ้าแฝก

                   ทางล าเลียง (farm road) คูรับน้ าขอบเขา (hillside ditch) ทางระบายน้ า (waterways) ฝายชะลอน้ า
                   (check dam, weir) บ่อดักตะกอน (pond) มาตรการปรับปรุงบ ารุงดิน อ่างเก็บน้ า สระเก็บน้ า ฝายทดน้ า

                   การปรับปรุงล าน้ า คลองส่งน้ า ระบบส่งน้ าด้วยท่อ และระบบให้น้ าแบบ micro irrigation
                              4. พื้นที่เกษตรกรรมมีความลาดชัน 5 – 12 เปอร์เซ็นต์ มาตรการที่เหมาะสมตามหลัก

                   วิชาการ คือ การไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ (contour cultivation) การยกร่องตามแนวระดับ

                   (ridging) การสร้างคันดิน (terrace, bench terrace) คันดินเบนน้ า (division terrace) แนวหญ้าแฝก
                   ทางล าเลียง (farm road) คูรับน้ าขอบเขา (hillside ditch) ทางระบายน้ า (waterways) ฝายชะลอน้ า

                   (check dam, weir) บ่อดักตะกอน (pond) มาตรการปรับปรุงบ ารุงดิน อ่างเก็บน้ า สระเก็บน้ า ฝายทดน้ า

                   การปรับปรุงล าน้ า คลองส่งน้ า ระบบส่งน้ าด้วยท่อ และระบบให้น้ าแบบ micro irrigation
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129