Page 130 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองแอ่ง อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
P. 130

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          96


                          6

















                          5
                     การด าเนินงานตามแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วย

               ระบบอนุรักษ์ดินและน้ า มีกลไกการขับเคลื่อนการด าเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการและคณะท างาน

               ประกอบด้วย คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม
               ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า และคณะท างานจัดท าแผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลาย

               ของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า พื้นที่ลุ่มน้ าคลองแอ่งอ าเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด

               ในการจัดท าต้นแบบแผนการบริหารจัดการการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบ
               อนุรักษ์ดินและน้ า ส าหรับขับเคลื่อนการด าเนินงานด้านการอนุรักษ์ดินและน้ าให้บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์

               20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ า ดังนั้น

               เพื่อให้แผนบริหารจัดการเกิดผลสัมฤทธิ์ในทางปฏิบัติ บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ก าหนดไว้  จึง
               จ าเป็นต้องได้รับการขับเคลื่อนและผลักดันจากทุกภาคส่วนและให้เกิดการบูรณาการทุกระดับและผ่าน

               กระบวนการมีส่วนร่วม เพื่อให้การบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้ ามีเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน ควรมีแนว
               ทางการด าเนินงาน ดังนี้




                                                                                                    ให้

               สามารถน าไปสู่การวางแผน การก าหนดมาตรการและบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมที่มีความเสี่ยงต่อการชะล้าง
               พังทลายของดินและพื้นที่ดินเสื่อมโทรม รวมทั้งสามารถแปลงไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม ตามระบบการ

               บริหารเชิงยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับประเด็นปัญหาและบูรณาการการด าเนินงานของหน่วยงานโดยผ่าน

               กระบวนการมีส่วนร่วมจากภาคีผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเกิดการยอมรับและตระหนัก
               ถึงความส าคัญของแผน และน าต้นแบบของแผนไปขยายผลสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม




                                                                             ระดับหน่วยงานที่ปฏิบัติงาน
               ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ในด้านวิชาการที่เป็นกระบวนการหลัก (core process) และ กระบวนการ

               สนับสนุน (support process) โดยน าแนวทางการปฏิบัติงานไปก าหนดเป็นแผนงานโครงการ และก าหนด
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135