Page 107 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองแอ่ง อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
P. 107

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             79



                              - เนื่องจากในบางพื้นที่ที่มีสภาพพื้นที่ไม่เหมาะสมกับการท านา อาจมีการปรับพื้นที่โดยการ

                   ปรับรูปแปลงนาในลักษณะที่ 3 (ยกร่อง) เพื่อให้สามารถปลูกพืชได้หลากหลายและเหมาะสมกับพื้นที่มาก
                   ขึ้น


                                                                                      มีเนื้อที่ประมาณ 768 ไร่
                   หรือร้อยละ 0.90 ของเนื้อที่ทั้งหมด โดยปัจจุบันมีสภาพเป็นทุ่งหญ้าตามธรรมชาติหรือทุ่งหญ้าและไม้ละเมาะ


                                                         มีเนื้อที่ประมาณ 22 ไร่ หรือร้อยละ 0.03 ของเนื้อที่ทั้งหมด
                   โดยปัจจุบันมีสภาพเป็นสถานที่เพาะเลี้ยงปลา และสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าผสม






                         มีเนื้อที่รวมประมาณ 2,824 ไร่ หรือร้อยละ 3.33 ของเนื้อที่ทั้งหมด ประกอบด้วย ชุมชน ระบบ

                   โครงข่ายคมนาคม โรงงานอุตสาหกรรม และสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ





                         มีเนื้อที่รวมประมาณ 1,913 ไร่ หรือร้อยละ 2.25 ของเนื้อที่ทั้งหมด ได้แก่ แหล่งน้ าธรรมชาติ และ

                   แหล่งน้ าที่มนุษย์สร้างขึ้น





                         มีเนื้อที่ประมาณ 3,301 ไร่ หรือร้อยละ 3.89 ของเนื้อที่ทั้งหมด พื้นที่ในเขตนี้มีสภาพเป็นป่า

                   ค่อนข้างสมบูรณ์แต่อยู่นอกเขตป่าสงวนแห่งชาติ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปมีความลาดชันค่อนข้างมาก รวมถึง

                   พื้นที่ดินตื้นมีกรวดหินปะปนมาก พื้นที่ในเขตนี้กระจายตัวอยู่เป็นหย่อม ๆ ต่อจากเขตป่าสงวนแห่งชาติ ซึ่ง

                   ควรรักษาพื้นที่ไว้ใช้ประโยชน์ร่วมกันหรือจัดท าเป็นป่าชุมชน
                         ข้อเสนอแนะในการใช้พื้นที่เขตพื้นที่คงสภาพป่าไม้นอกเขตป่าตามกฎหมาย
                         - ควรมีการใช้ประโยชน์พื้นที่โดยปลูกไม้โตเร็ว และยึดหลักการใช้ที่ดินแบบผสมผสานระหว่างป่าไม้

                   กับการเกษตร

                         - ควรป้องกันและรักษาสภาพป่าไม้ให้คงความสมบูรณ์และมีความหลากหลายทางชีวภาพ โดยให้
                   ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการ เพื่อให้มีการใช้ประโยชน์จากไม้และของป่าร่วมกันอย่างพอเพียงและยั่งยืน






                         มีเนื้อที่ประมาณ 613 ไร่ หรือร้อยละ 0.72 ของเนื้อที่ทั้งหมด โดยปัจจุบันมีสภาพเป็นพื้นที่ทุ่งหญ้า

                   และไม้ละเมาะ และพื้นที่ดัดแปลง เช่น พื้นที่ถม พื้นที่ลุ่ม
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112