Page 106 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองแอ่ง อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
P. 106

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          78



               นี้มีการใช้ที่ดินเพื่อการปลูกไม้ผล ปาล์มน้ ามัน และยางพารา ในสภาพพื้นที่มีความลาดชัน 12-35

               เปอร์เซ็นต์

                           มีข้อเสนอแนะในการใช้พื้นที่เขตพื้นที่เกษตรกรรมที่ควรส่งเสริมมาตรการในการอนุรักษ์ดิน

               และน้ า โดยในบริเวณพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง และเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายควรจัดท าระบบอนุรักษ์ดิน
               และน้ า โดยใช้ระบบพืชในการอนุรักษ์ดินและน้ า เช่น การปลูกแถบหญ้าแฝก ปลูกพืชสลับเป็นแถบ หรือ

               ปลูกพืชคลุมดิน เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และช่วยเก็บความชื้นไว้ในดิน รวมทั้งมีการ

               จัดระบบการปลูกพืชให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และบ ารุงดินด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก เพื่อเพิ่ม
               อินทรียวัตถุให้ดิน



                            มีเนื้อที่ประมาณ 26,629 ไร่ หรือร้อยละ 34.90 ของเนื้อที่ทั้งหมด พื้นที่เขตนี้มีการใช้ที่ดิน

               เพื่อการปลูกพืชไร่ ไม้ผล และไม้ยืนต้น ในสภาพพื้นที่มีความลาดชันน้อยกว่า 12 เปอร์เซ็นต์ มี
               ข้อเสนอแนะในการใช้พื้นที่เขตพื้นที่เกษตรกรรมมีความลาดชันน้อยกว่า 12 เปอร์เซ็นต์ ดังนี้

                           - ควรท าคันดินเบนน้ าเพื่อป้องกันน้ าที่จะไหลบ่าเข้ามาจากพื้นที่ด้านนอก ซึ่งอาจจะท าความ

               เสียหายให้แก่พืชในพื้นที่ได้ และยังช่วยลดการชะล้างพังทลายของดิน และอาจต้องท าทางระบายน้ าออกจาก
               พื้นที่แต่ถ้ามีทางน้ าธรรมชาติอยู่แล้วควรรักษาให้อยู่ในสภาพดี

                           - ควรจัดระบบปลูกพืชให้เหมาะสมโดยการไถพรวน และปลูกพืชขวางความลาดเท และควรจัด
               ให้มีพืชขึ้นปกคลุมหน้าดินตลอดทั้งปี สนับสนุนการปลูกไม้โตเร็วควบคู่กับการอนุรักษ์ดินและน้ า เน้นการท า

               การเกษตรแบบผสมผสานตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นการปลูกพืชให้หลากหลายชนิดทั้งไม้ผล ไม้ยืน

               ต้น พืชไร่ และพืชผัก
                           - พัฒนากระบวนการผลิตไม้ผล ส่งเสริมการผลิตพืชปลอดสารพิษ เพิ่มศักยภาพการผลิตโดย

               ปรับปรุงโครงสร้างของดินด้วยการปลูกพืชตระกูลถั่วในพื้นที่ เพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุแก่ดิน ส่งเสริมการใช้ปุ๋ย
               อินทรีย์ และผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี


                                                                                                  มีเนื้อ

               ที่ประมาณ 429 ไร่ หรือร้อยละ 0.50 ของเนื้อที่ทั้งหมด ซึ่งเป็นบริเวณที่มีการใช้ที่ดินเพื่อการท านา ดินที่
               พบในบริเวณนี่เป็นดินลึก มีการระบายน้ าดีปานกลางถึงเลว และมีการท าคันนา ดินมีความอุดมสมบูรณ์

               ตามธรรมชาติต่ า ส่วนใหญ่แหล่งน้ าในเขตนี้พอเพียงส าหรับการเพาะปลูกตลอดปี มีข้อเสนอแนะในการใช้
               พื้นที่เขตพื้นที่เกษตรกรรมที่มีการท านา ดังนี้


                           - ควรมีการปรับพื้นที่ในแปลงนา เพื่อรักษาระดับการขังของน้ าให้เหมาะสมในระยะที่ข้าว
               เจริญเติบโต

                           - ควรปรับปรุงบ ารุงดินโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยพืชสด เพื่อช่วย

               ปรับปรุงโครงสร้างของดินและเพิ่มธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ส าหรับพืช ร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมีในอัตราส่วนที่
               เหมาะสม
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111