Page 99 - แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองลาว อำเภอปลายพระยาและอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่
P. 99

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             73



                   หายต่อคน พืช สัตว์บก และสัตว์น้ำ เฉลี่ยร้อยละ 92.64 ไม่ใช่ เฉลี่ยร้อยละ 3.78 ไม่แน่ใจ เฉลี่ยร้อยละ

                   4.37 ทำให้เกิดความเสียหายกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เฉลี่ยร้อยละ 89.82 ไม่ใช่ เฉลี่ยร้อยละ
                   7.65 ไม่แน่ใจ เฉลี่ยร้อยละ 2.53 ของเกษตรกรที่สำรวจทั้งหมด

                               ทั้งนี้ จะเห็นว่า เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบของการชะล้างพังทลาย

                   ของดินต่อความเสียหายทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยดินที่ถูกชะล้างหรือกัดเซาะจะถูกพัด
                   พาไหลไปตกตะกอนในแหล่งน้ำ ทำให้แหล่งน้ำตื้นเขิน ส่งผลให้ในฤดูฝนแม่น้ำลำคลองเก็บน้ำไว้ไม่ทันเกิด

                   น้ำท่วม และเกิดสภาวะขาดแคลนน้ำในฤดูแล้ง อีกทั้งสารเคมีและยาฆ่าแมลงที่ไหลปนไปกับตะกอนดินสู่
                   พื้นที่ตอนล่าง ทำให้เกิดมลพิษสะสมในดินและน้ำมีผลเสียต่อคน พืช สัตว์บก และสัตว์น้ำ (ตารางที่ 3-16)


                   ตารางที่ 3-16  ความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับผลกระทบการชะล้างพังทลายของหน้าดิน พื้นที่ลุ่มน้ำ
                                 คลองลาว อำเภอปลายพระยา อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ ปีการผลิต 2563


                                                                                ร้อยละ
                                         รายการ                                                    ลำดับ
                                                                         ใช่    ไม่ใช่  ไม่แน่ใจ
                    1) ตะกอนดินในแม่น้ำลำคลอง จะทำให้ในฤดูฝนเก็บน้ำ    99.31     -      0.69        1

                       ไว้ไม่ทัน ทำให้เกิดน้ำท่วม และในฤดูแล้งขาดแคลนน้ำ
                    2) ดินที่ถูกชะล้าง/กัดเซาะจะถูกพัดพาไหลไปตกตะกอน    95.73  2.55     1.73        2

                        ในแหล่งน้ำ ลำคลอง อ่างเก็บน้ำ ทำให้ตื้นเขิน

                    3) สารเคมีและยาฆ่าแมลงที่ไหลไปปนกับตะกอนดิน ทำ     92.64  3.78      4.37        3
                        ให้เกิดมลพิษสะสมในดิน และน้ำในพื้นที่ตอนล่าง มี

                        ผลเสียหายต่อคน พืช สัตว์บก และสัตว์น้ำ
                    4) ทำให้เกิดความเสียหายกับทรัพยากรธรรมชาติและ      89.82  7.65      2.53        4

                        สิ่งแวดล้อม

                   ที่มา : จากการสำรวจ กลุ่มวางแผนการใช้ที่ดิน สพข.11 (2563)

                           4.3 ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการรักษาและป้องกันไม่ให้เกิดชะล้างพังทลายของดิน พบว่า

                   เกษตรกร มีความรู้ ความเข้าใจถึงวิธีการรักษาและป้องกันไม่ให้เกิดชะล้างพังทลายของดิน ดังนี้ การยก
                   ร่องและปลูกพืชทำร่องน้ำไปตามแนวระดับ เฉลี่ยร้อยละ 87.70 ไม่ใช่ เฉลี่ยร้อยละ 7.59 ไม่แน่ใจ เฉลี่ยร้อย

                   ละ 4.71 การใช้วัสดุต่าง ๆ อย่างง่าย เช่น ท่อนไม้ หิน กระสอบบรรจุทราย อิฐ และ ก่อสร้างขวางทาง

                   ระบายน้ำเพื่อชะลอความเร็วของน้ำไม่ให้กัดเซาะ เฉลี่ยร้อยละ 86.11 ไม่ใช่ เฉลี่ยร้อยละ 8.04 ไม่แน่ใจ
                   เฉลี่ยร้อยละ 5.84 การทำฝายน้ำล้นหรือคันชะลอความเร็วของน้ำ เฉลี่ยร้อยละ 84.29 ไม่ใช่ เฉลี่ยร้อยละ

                   6.49 ไม่แน่ใจ เฉลี่ยร้อยละ 8.58 การทำคันดินขวางทางลาดเท เฉลี่ยร้อยละ 82.28 ไม่ใช่ เฉลี่ยร้อยละ

                   11.62 ไม่แน่ใจ เฉลี่ยร้อยละ 6.10 การปลูกพืชแบบขั้นบันได (ปรับพื้นที่เป็นขั้น ๆ ) เฉลี่ยร้อยละ 80.12
                   ไม่ใช่ เฉลี่ยร้อยละ 8.55 ไม่แน่ใจ เฉลี่ยร้อยละ 11.34 การใช้วัสดุคลุมดิน เช่น เศษซากพืช เฉลี่ยร้อยละ

                   80.11 ไม่ใช่ เฉลี่ยร้อยละ 15.08 ไม่แน่ใจ เฉลี่ยร้อยละ 4.81 การถางป่า ตัดไม้ทำลายป่า การขุดถนนทำ





                                    แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน ้า ลุ่มน ้าคลองลาว
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104