Page 100 - แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองลาว อำเภอปลายพระยาและอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่
P. 100

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          74



               ให้เกิดการชะล้างพังทลายของดิน เฉลี่ยร้อยละ 78.83 ไม่ใช่ เฉลี่ยร้อยละ 11.97 ไม่แน่ใจ เฉลี่ยร้อยละ

               9.20 การปลูกหญ้าแฝกขวางทางลาดชัน เฉลี่ยร้อยละ 78.03 ไม่ใช่ เฉลี่ยร้อยละ 11.94 ไม่แน่ใจ เฉลี่ยร้อย
               ละ 10.03 การปลูกพืชสลับเป็นแถบ เฉลี่ยร้อยละ 77.39 ไม่ใช่ เฉลี่ยร้อยละ 14.64 ไม่แน่ใจ เฉลี่ยร้อยละ

               7.97การปลูกพืชคลุมดิน เฉลี่ยร้อยละ 71.79 ไม่ใช่ เฉลี่ยร้อยละ 19.95 ไม่แน่ใจ เฉลี่ยร้อยละ 8.25 การ

               ปลูกพืชหมุนเวียน หรือปลูกพืชแซมหรือปลูกพืชเหลื่อมฤดู เฉลี่ยร้อยละ 69.07 ไม่ใช่ เฉลี่ยร้อยละ 23.70
               ไม่แน่ใจ เฉลี่ยร้อยละ 7.22

                        ทั้งนี้ จะเห็นว่า เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจในวิธีการรักษาและป้องกันไม่ให้เกิดการชะล้าง
               พังทลายของดินในแต่ละวิธีการมากน้อยแตกต่างกัน แต่เมื่อสอบถามถึงความต้องการวิธีการรักษาและ

               ป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน พบว่า 4 อันดับแรกที่เกษตรต้องการ คือ การยกร่องและปลูกพืชทำร่อง

               น้ำไปตามแนวระดับ การใช้วัสดุต่าง ๆ อย่างง่าย เช่น ท่อนไม้ หิน กระสอบบรรจุทราย อิฐ และ ก่อสร้าง
               ขวางทางระบายน้ำเพื่อชะลอความเร็วของน้ำไม่ให้กัดเซาะ การทำฝายน้ำล้นหรือคันชะลอความเร็วของน้ำ

               การทำคันดินขวางทางลาดเท การปลูกพืชแบบขั้นบันได (ปรับพื้นที่เป็นขั้น ๆ ) (ตารางที่ 3-17)

               ตารางที่ 3-17  ความรู้ ความเข้าใจ วิธีการรักษาและป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน ในพื้นที่ลุ่มน้ำ

                              คลองลาว อำเภอปลายพระยา อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ ปีการผลิต 2563

                                                                                    ร้อยละ
                                  วิธีการรักษาและป้องกัน
                                                                            ใช่      ไม่ใช่   ไม่แน่ใจ

                1) การยกร่องและปลูกพืชทำร่องน้ำไปตามแนวระดับ               87.70     7.59      4.71
                2) การใช้วัสดุต่าง ๆ อย่างง่าย เช่น ท่อนไม้ หิน            86.11     8.04      5.84

                    กระสอบบรรจุทราย อิฐ และ ก่อสร้างขวางทาง
                    ระบายน้ำเพื่อชะลอความเร็วของน้ำไม่ให้กัดเซาะ

                3) การทำฝายน้ำล้นหรือคันชะลอความเร็วของน้ำ                 84.29     6.49      8.58

                4) การทำคันดินขวางทางลาดเท                                 82.28     11.62     6.10
                5) การปลูกพืชแบบขั้นบันได (ปรับพื้นที่เป็นขั้น ๆ)      80.12       8.55      11.34

                6) การใช้วัสดุคลุมดิน เช่น เศษซากพืช                   80.11      15.08       4.81

                7) การถางป่า ตัดไม้ทำลายป่า การขุดถนนทำให้เกิด         78.83      11.97       9.20
                    การชะล้างพังทลายของดิน

                8) การปลูกหญ้าแฝกขวางทางลาดชัน                         78.03      11.94      10.03

                9) การปลูกพืชสลับเป็นแถบ                               77.39      14.64       7.97
                10) การปลูกพืชคลุมดิน                                  71.79      19.95       8.25

                11) การปลูกพืชหมุนเวียน/ปลูกพืชแซม/                    69.07      23.70       7.22
                    ปลูกพืชเหลื่อมฤดู

               ที่มา : จากการสำรวจ กลุ่มวางแผนการใช้ที่ดิน สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 (2563)






                                แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน ้า ลุ่มน ้าคลองลาว
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105