Page 102 - แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองลาว อำเภอปลายพระยาและอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่
P. 102

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          76






                        จากการรวบรวมข้อมูลสภาพแวดล้อมทางกายภาพ สังคมและเศรษฐกิจ เพื่อจัดทำแผนการใช้ที่ดิน
               เพื่อการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ลุ่มน้ำคลองลาว ได้วิเคราะห์

               SWOT โดยศึกษาสภาพการณ์ภายในและภายนอก วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและข้อจำกัด ใน 4 ด้าน

               ได้แก่ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และด้านนโยบาย เพื่อนำไปใช้ในการกำหนด
               มาตรการที่เหมาะสมและวางแผนบริหารโครงการ สรุปได้ดังนี้


                     1. ด้านกายภาพ (ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)

                              จุดแข็ง (Strength)                          จุดอ่อน (Weakness)

                1. มีระบบลุ่มน้ำที่สามารถบริหารจัดการเชิง    1. ทรัพยากรดินเสื่อมโทรม เนื่องจากการใช้
                พื้นที่ได้                                   ประโยชน์ที่ดินมานาน และปลูกพืชเชิงเดี่ยว

                2. ทรัพยากรดินส่วนใหญ่มีศักยภาพในการปลูก     2. การบุกรุกพื้นที่ป่าไม้เพื่อทำการเกษตรในพื้นที่
                พืชเศรษฐกิจหลักของพื้นที่ ได้แก่ ปาล์มน้ำมัน   ไม่เหมาะสมทำการเกษตร ทำให้ระบบนิเวศน์ถูก

                ยางพารา หรือพืชทางเลือกอื่น ๆ                ทำลาย
                3. มีแหล่งน้ำที่สร้างไว้แล้ว โดยได้รับการ    3. พื้นที่ส่วนใหญ่มีตะกอนดินสะสมในลำน้ำ ทำให้

                สนับสนุนแหล่งน้ำต้นทุนจาก กรมพัฒนาที่ดิน     ระบายน้ำไม่ทัน

                4. พื้นที่มีศักยภาพในการพัฒนาแหล่งน้ำ        4. ขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภคในช่วงฤดูร้อน
                           โอกาส (Opportunity)                              ปัญหา (Threat)

                1. เป็นนโยบายระดับประเทศในการแก้ไขปัญหา      1. ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเพื่อป้องกันการบุกรุก

                ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม           พื้นที่ป่า พื้นที่สาธารณะ ปัญหาการทับซ้อนกันระหว่าง
                2. จังหวัดได้ให้ความสำคัญกับแผนอนุรักษ์และ   พื้นที่ทำกินของราษฎรเดิมกับพื้นที่เขตป่า

                ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่าง    2. การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศทำให้มีผลกระทบ

                ยั่งยืน ได้กำหนดไว้เป็นยุทธศาสตร์จังหวัด     ต่อสิ่งแวดล้อม
                3. ภาคเอกชนให้ความสนใจและเข้าร่วม

                สนับสนุนการแก้ไขปัญหาและฟื้นฟู
                ทรัพยากรธรรมชาติ



















                                แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน ้า ลุ่มน ้าคลองลาว
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107