Page 159 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 159

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       149









                          1) ส่งเสริมเทคโนโลยีด้านการพัฒนาและจัดการที่ดิน แหล่งน้ า และสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับความต้องการใช้
                                    ประโยชน์ของชุมชนที่เอื้อต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร
                          2) พัฒนาองค์ความรู้และขยายผลเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสมต่อการจัดการดินและน้ าในพื้นที่ทุ่งมหาราช
                          และพื้นที่ภาคกลางที่มีสภาพปัญหาเดียวกัน

                          1) ส ารวจสภาพพื้นที่ จัดท ากระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อรับฟังความคิดเห็น (PRA) และสังเคราะห์ข้อมูล
                          2) ปรับปรุงและจัดท าแผนที่ที่เกี่ยวข้องในมาตราส่วน 1:4,000 ให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน
                          3) ศึกษาข้อมูลดิน เศรษฐกิจและสังคม และพัฒนาองค์ความรู้ด้านวิชาการเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสม
                          4) ปรับพื้นที่ดินและพัฒนาน้ าต้นทุนในพื้นที่ทุ่งมหาราช พร้อมระบบส่งน้ ากระจายน้ าควบคุมน้ าระดับแปลงเกษตรกร
                          5) จัดท าศูนย์เรียนรู้ แปลงสาธิต และเสริมสร้างช่องทางสื่อสารสร้างการรับรู้การถ่ายทอดองค์ความรู้
                          6) ติดตามและประเมินผลการด าเนิน

                          1) พื้นที่ได้รับการปรับปรุง ฟื้นฟูและพัฒนา
                          2) เกษตรกรปรับเปลี่ยนมาปลูกพืชเศรษฐกิจที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการดิน
                           พื้นที่ได้รับการปรับปรุง ฟื้นฟูให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และเกษตรกรสนใจ
                   ให้ความร่วมมือและเข้าร่วมโครงการ และมีทัศนคติที่ดีต่อหน่วยงานของรัฐ
                            พื้นที่การเกษตรและแหล่งน้ าสามารถปลูกพืชให้เหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ และเกษตรกรได้ผลผลิตที่ได้มาตรฐาน
                   และมีความปลอดภัย (GAP) มีสุขภาพที่ดี มีรายได้และความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น









                   1) ลดการชะล้างพังทลายของหน้าดิน และฟื้นฟูดินเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ดิน
                   2) ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินกับเกษตรกรให้สามารถใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเหมาะสม
                      และป้องกันการบุกรุกพื้นที่ป่าเพื่อท าการเกษตร
                   3) ขยายผลส าเร็จพื้นที่โครงการหลวงไปยังชุมชนพื้นที่สูงอื่นๆ ที่สอดคล้องกับสภาพภูมิสังคม


                   1) ก าหนดพื้นที่เป้าหมายร่วมกับสถาบันวิจัยพื้นที่สูง (สวพส.) หรือหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง
                   2) ส ารวจความเหมาะสมของพื้นที่ ก าหนดวงรอบขอบเขตที่ดินท ากินและวางแผนการใช้ที่ดิน
                   3) ประชุมชี้แจงและสอบถามความคิดเห็นของชุมชน
                   4) ประสานกับหน่วยงานเพื่อขออนุญาตด าเนินงานโครงการ
                   5) ส ารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติ เสนอผลการส ารวจและออกแบบ
                      ระบบอนุรักษ์ดินและน้ าให้คณะกรรมการที่ได้รับมอบหมายด าเนินงานพัฒนาพื้นที่สูงของ
                      ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต/หน่วยงาน ให้ความเห็นชอบ
                   7) ตรวจสอบความถูกต้องของวงรอบและแบบก่อสร้างระบบอนุรักษ์ดินและน้ า
                      ระบบส่งน้ าชลประทาน และเส้นทางล าเลียง
                   8) ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดินให้เกษตรกร
                   9) ติดตามผลการด าเนินงาน
                           พื้นที่โครงการหลวงได้รับการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรดิน
                           เกษตรกรสามารถน าความรู้และเทคโนโลยีปรับใช้ในพื้นที่ตนเองอย่างเหมาะสม
                            เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดี และสามารถประกอบอาชีพการเกษตรบนพื้นที่สูง
                   ได้อย่างยั่งยืน
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164