Page 155 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 155

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       145










                   1) ป้องกันและฟื้นฟูพื้นที่ที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม
                   2) อนุรักษ์ดินและป่าต้นน้ าล าธารให้ยั่งยืนและปรับสภาพพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม และ
                   การเกษตรให้เป็นป่าธรรมชาติ


                   1) คัดเลือกพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดดินถล่มในระดับปานกลางถึงสูงที่มีความลาดชัน
                      มากกว่า 30% ที่อยู่นอกเขตป่าสงวน และเกษตรกรจะต้องยินยอมเข้าร่วมโครงการ
                      หากอยู่ในเขตป่าสงวนให้ท าความตกลงกับหน่วยงานเจ้าของพื้นที่
                   2) ด าเนินการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า และฟื้นฟูพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม
                   3) สนับสนุนให้เกษตรกรมีการปลูกพืชไม้ยืนต้น ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง
                   4) ติดตามและประเมินผลการด าเนินงาน
                          พื้นที่เกษตรกรรมได้รับการอนุรักษ์ดินและน้ า ป้องกัน และลดความเสี่ยงต่อดินถล่ม
                           ลดความเสียหายจากภัยดินถล่ม และใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการเกษตรได้
                            เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการเกษตรได้อย่างยั่งยืน








                   1) ป้องกันและฟื้นฟูพื้นที่วิกฤตต่อการสูญเสียหน้าดิน และใช้ที่ดินอย่างเหมาะสม
                   2) ให้เกษตรกรท าการเกษตรในพื้นที่ลาดชันที่ถูกวิธี และลดการชะล้างพังทลายของดิน

                   1) ขึ้นทะเบียนเกษตรกรที่แจ้งความจ านงขอรับการสนับสนุน
                   2) พัฒนาความรู้แก่เกษตรกรด้านการสูญเสียหน้าดิน
                   3) จัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า
                   4) ติดตามและประเมินผลการด าเนินงาน
                           พื้นที่เกษตรได้รับการอนุรักษ์และฟื้นฟู
                           เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตได้
                            ทรัพยากรดินได้รับการอนุรักษ์และฟื้นฟู และใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน







                   1) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการผลิตให้เหมาะสมต่อการผลิตข้าวหอมมะลิในทุ่งกุลาร้องไห้
                   2) เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวหอมมะลิด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน

                   1) จัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า
                   2) ปรับรูปแปลงนา และปรับระดับพื้นที่นาให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่
                   3) บ ารุงรักษาระบบอนุรักษ์ดินและน้ า
                   4) ปรับปรุงบ ารุงดินด้วยการส่งเสริมการใช้พืชปุ๋ยพืชสด และจัดหาเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด
                   5) ติดตามและประเมินผลการด าเนินงาน
                           พื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ได้รับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการผลิต
                           เกษตรกรในพื้นที่สามารถเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวหอมมะลิ
                            พื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้มีศักยภาพการผลิตข้าวหอมมะลิเพื่อการส่งออกได้
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160