Page 158 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 158

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                    148











                                            ส่งเสริม สนับสนุน สร้างแรงจูงใจให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนการผลิตพืชในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม
                                            ไปสู่พืชที่มีศักยภาพตามสภาพพื้นที่


                                            1) คัดเลือกเกษตรกรในพื้นที่เหมาะสมน้อย (S3) และไม่เหมาะสม (N) ที่มีความพร้อม
                                               และสมัครใจปรับเปลี่ยนจากพื้นที่ปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสมในพื้นที่ 49 จังหวัด
                                               (90,000 ไร่ รายละประมาณ 5 ไร่)
                                            2) วิเคราะห์ศักยภาพ วางแผน เพื่อก าหนดกิจกรรม
                                            3) วางแผนผังการเพาะปลูกให้เหมาะสมกับพื้นที่ของเกษตรกร
                                            4) ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินให้กับเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
                                            5) ติดตาม แนะน า ประสานงาน ให้ค าปรึกษาแก่เกษตรกร
                                                    พื้นที่มีการปรับเปลี่ยนการผลิตให้เหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่
                                                    เกษตรกรได้รับประโยชน์ สามารถลดต้นทุนและเพิ่มรายได้
                                                      เกษตรกรผลิตสินค้าได้ตรงกับความต้องการของตลาด
                                            ใช้ประโยชน์ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ ลดความเสี่ยงและลดต้นทุนการผลิต






                                            1) ปรับโครงสร้างของพื้นที่ ปรับปรุงและฟื้นฟูคุณภาพดินเค็ม (38,150 ไร่)
                                            2) เกษตรกรมีองค์ความรู้ในการแก้ไขดินมีปัญหาดินเค็มในพื้นที่ตนเอง

                                            1) คัดเลือกพื้นที่ ประชุมชี้แจงเกษตรกร วิเคราะห์ข้อมูล
                                            2) ส ารวจและออกแบบการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า
                                            3) จัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า พร้อมถ่ายทอดองค์ความรู้
                                            4) ติดตามและประเมินผล
                                                    พื้นที่ได้รับการส่งเสริม สาธิต ปรับปรุงและฟื้นฟูคุณภาพดิน
                                                    พื้นที่มีสภาพเหมาะสมในการเกษตร เกษตรกรได้รับองค์ความรู้
                                                      เกษตรกรใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการเกษตรได้อย่างเหมาะสม







                                            1) ส่งเสริมและสาธิตการใช้วัสดุปรับปรุงดิน (ปูนเพื่อการเกษตร)
                                               ร่วมกับพืชปุ๋ยสดในปรับปรุงแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวให้กับเกษตรกร
                                            2) ปรับโครงสร้างพื้นที่ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า และเทคโนโลยีพัฒนาที่ดิน

                                            การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพพื้นที่ ส่งเสริมให้เกษตรกร ปรับปรุงแก้ไข
                                            ดินเปรี้ยวให้มีสภาพเหมาะสม สามารถท านา ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น
                                            ให้ได้ผลผลิตสูงขึ้นโดยใช้วัสดุปรับปรุงดิน (ปูนเพื่อการเกษตร) และพืชปุ๋ยสด
                                                    พื้นที่ที่ได้รับการพัฒนาให้สามารถใช้ในการปลูกพืชได้ 4,000 ไร่
                                                    เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกพืชได้อย่างยั่งยืน
                                                      เพิ่มผลผลิตทางการเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163