Page 157 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 157

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       147











                   1) พัฒนาโครงสร้างปัจจัยพื้นฐานให้มีแหล่งการผลิตที่เหมาะสมรองรับเกษตรอินทรีย์
                   2) เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และปรับปรุงพื้นที่ให้เหมาะสมในการปลูกข้าว


                   1) จัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า
                   2) ปรับรูปแปลงนา และปรับระดับพื้นที่นาให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่
                   4) ปรับปรุงบ ารุงดิน ส่งเสริมการใช้พืชปุ๋ยพืชสด และจัดหาเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด
                   6) ติดตามและประเมินผลการด าเนินงาน
                           พื้นที่ได้รับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่รองรับระบบเกษตรอินทรีย์ได้
                           เกษตรกรสามารถเพิ่มศักยภาพในการผลิตข้าวหอมมะลิ
                   สร้างรายได้ ลดรายจ่าย และสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน
                            เพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวหอมมะลิได้ตามมาตรฐานการผลิต
                   สร้างระบบเศรษฐกิจในพื้นที่ทั้งระดับครัวเรือน จังหวัด และภูมิภาคให้สูงขึ้น






                   1) อนุรักษ์ดินและน้ าและปลูกไม้ยืนต้นรักษาสภาพแวดล้อม และรองรับ climate change
                   2) รณรงค์เสริมสร้างความรู้และพัฒนาบุคลากร เกษตรกร ความร่วมมือทุกภาคส่วน

                   1) คัดเลือกพื้นที่ด าเนินการน าร่องที่เสี่ยงต่อความแห้งแล้งและเสื่อมโทรมซ้ าซาก
                   2) ส ารวจและตรวจสอบความเหมาะสมพื้นที่  ความพร้อมของเกษตรกร
                   3) จัดหากล้าไม้ยืนต้น รณรงค์ประชาสัมพันธ์ ถ่ายทอดเทคโนโลยีในการปลูก
                   4) ส ารวจออกแบบระบบอนุรักษ์ดินและน้ า พร้อมก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน
                   5) เกษตรกรเจ้าของพื้นที่ร่วมด าเนินการปลูกกล้าไม้พร้อมทั้งดูแลรักษา
                   6) ติดตามและประเมินผลการด าเนินงาน
                          พื้นที่ได้รับการอนุรักษ์ ปรับปรุง และฟื้นฟู
                           เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่างเหมาะสมตามศักยภาพ
                             สามารถลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกและกักเก็บคาร์บอน






                   ลดการเผาพื้นที่เกษตรบนพื้นที่โล่งเตียน ช่วยบรรเทาภาวะโลกร้อนและมลพิษทางอากาศ

                   1) คัดเลือกพื้นที่โล่งเตียนเฉพาะพื้นที่เกษตรบนที่สูงที่เสี่ยงต่อการเผาในเขตจังหวัดเชียงใหม่
                       เชียงราย แม่ฮ่องสอน น่าน พะเยา ล าปาง ล าพูน และแพร่
                   2) ตรวจสอบพื้นที่และความพร้อมของเกษตรกรที่ต้องการเข้าร่วมโครงการ
                   3) ส ารวจออกแบบ และจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า จัดหากล้าไม้ยืนต้น
                   6) เผยแพร่ความรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการปรับปรุงบ ารุงดิน
                   7) ติดตามและประเมินผลการด าเนินงาน
                           พื้นที่เกษตรกรรมในจังหวัดภาคเหนือมีการจัดการดินให้เหมาะสม
                           เกษตรกรในพื้นที่ ลดการเผาพื้นที่เกษตรก่อนการเพาะปลูกได้
                            ดินมีความอุดมสมบูรณ์ บรรเทามลพิษทางอากาศ ลดภาวะโลกร้อน
   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162