Page 98 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ.2563
P. 98

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            80





                  อําเภอทองแสนขัน ประกอบไปดวย และปาไมผลัดใบรอสภาพฟนฟู (F100) มีเนื้อที่ 4,561 ไร หรือ

                  รอยละ 0.09 ของเนื้อที่จังหวัด ซึ่งพบในอําเภอเมืองอุตรดิตถ อําเภอทาปลา อําเภอน้ําปาด และอําเภอ

                  ลับแล
                             2)    ปาผลัดใบ (F2) มีเนื้อที่ 2,430,537 ไร หรือรอยละ 49.62 ของเนื้อที่จังหวัด

                  พบกระจายตัวในทุกอําเภอ ประกอบไปดวยปาผลัดใบสมบูรณ (F201) มีเนื้อที่ 2,372,376 ไร หรือ

                  รอยละ 48.43 ของเนื้อที่จังหวัด และปาผลัดใบรอสภาพฟนฟู (F200) มีเนื้อที่ 58,161 ไร หรือรอยละ
                  1.19 ของเนื้อที่จังหวัด

                             3)    ปาปลูก (F5) มีเนื้อที่ 12,517 ไร หรือรอยละ 0.26 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่
                  เปนปาปลูกสมบูรณ (F501) พบในอําเภอเมืองอุตรดิต อําเภอน้ําปาด อําเภอทาปลา อําเภอลับแล และ

                  อําเภอตรอน
                        2.8.4   พื้นที่น้ํา (W)  มีเนื้อที่ 226,317 ไร หรือรอยละ 4.63 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบดวย

                  แหลงน้ําธรรมชาติ และแหลงน้ําที่สรางขึ้น

                             1)    แหลงน้ําธรรมชาติ (W1) เชน แมน้ํา ลําหวย ลําคลอง หนอง บึง และทะเลสาบ มี
                  เนื้อที่ 47,895 ไร หรือรอยละ 0.98 ของเนื้อที่จังหวัด โดยมีแหลงน้ําที่สําคัญ คือ แมน้ํานาน

                             2)    แหลงน้ําที่สรางขึ้น (W2) เชน อางเก็บน้ํา บอน้ําในไรนา และคลองชลประทาน  มี

                  เนื้อที่ 178,422 ไร หรือรอยละ 3.65 ของเนื้อที่จังหวัด โดยมีแหลงน้ําที่สรางขึ้นที่สําคัญ ไดแก เขื่อนสิริกิติ์
                  ซึ่งเปนเขื่อนดินที่มีขนาดใหญที่สุดในประเทศไทย อยูในเขตอําเภอทาปลา  กั้นแมน้ํานาน ที่ไหลลงมา

                  จากอําเภอนาหมื่น จังหวัดนาน และเขื่อนดินชองเขาขาด ซึ่งตั้งอยูในอําเภอทาปลา
                        2.8..5  พื้นที่เบ็ดเตล็ด (M)  มีเนื้อที่ 57,333 ไร หรือรอยละ 1.17 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก

                  ทุงหญาและไมละเมาะ พื้นที่ลุม เหมืองแร บอขุด และพื้นที่เบ็ดเตล็ดอื่นๆ
                             1)    ทุงหญาและไมละเมาะ (M1) ไดแก ทุงหญาธรรมชาติ มีเนื้อที่ 773 ไร หรือรอยละ

                  0.02 ของเนื้อที่จังหวัด และทุงหญาสลับไมพุม/ไมละเมาะ มีเนื้อที่ 49,900 ไร หรือรอยละ 1.02 ของ

                  เนื้อที่จังหวัด
                             2)    พื้นที่ลุม (M2) ไดแก พื้นที่ลุม มีเนื้อที่ 2,861 หรือรอยละ 0.06 ของเนื้อที่จังหวัด

                  และพื้นที่ลุมที่ทําการปลูกออยในฤดูแลง มีเนื้อที่ 22 ไร

                             3)    เหมืองแร บอขุด (M3) ไดแก เหมืองแร บอลูกรัง บอทราย บอดิน และเหมืองเกา
                  บอขุดเกา มีเนื้อที่ 2,505 ไร หรือรอยละ 0.05 ของเนื้อที่จังหวัด

                             4)    พื้นที่เบ็ดเตล็ดอื่น ๆ ไดแก พื้นที่ดินถลม ที่หินโผล พื้นที่ถม หาดทราย ที่ทิ้งขยะ มี
                  เนื้อที่ 1,272 ไร หรือรอยละ 0.02 ของเนื้อที่จังหวัด
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103