Page 95 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ.2563
P. 95

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            77





                             5)    พื้นที่อุตสาหกรรม (U5)  มีเนื้อที่  6,642  ไร หรือรอยละ 0.13 ของเนื้อที่จังหวัด

                  ประกอบดวย พื้นที่อุตสาหกรรมราง โรงงานอุตสาหกรรม  ลานตากและแหลงรับซื้อทางการเกษตร

                  อุตสาหกรรมในจังหวัดอุตรดิตถสวนใหญเปนอุตสาหกรรมผลิตภัณฑจากพืช อุตสาหกรรมอาหาร และ
                  อุตสาหกรรมผลิตภัณฑโลหะ และอุตสาหกรรมการผลิตอื่น ๆ

                             6)    สิ่งปลูกสรางอื่น ๆ (U6)  มีเนื้อที่ 1,570 ไร หรือรอยละ 0.03 ของเนื้อที่จังหวัด

                  ประกอบดวย สถานที่ราง 57 ไร สถานที่พักผอนหยอนใจ 976 ไร ไดแก สวนสาธารณะ สนามกีฬา
                  รานอาหาร และสถานที่ทองเที่ยว ซึ่งมีกระจายอยูตามอําเภอตาง ๆ รีสอรท โรงแรม เกสตเฮาส 348 ไร

                  สุสานและปาชา 189 ไร สถานีบริการน้ํามัน 156 ไร
                             7)    สนามกอลฟ (U7)  มีเนื้อที่ 348 ไร หรือรอยละ 0.01 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก

                  สนามกอลฟเขื่อนสิริกิต
                        2.8.2    พื้นที่เกษตรกรรม (A)  มีเนื้อที่ 1,650,242 ไร หรือรอยละ 33.67  ของเนื้อที่จังหวัด

                  ประกอบดวย พื้นที่นา พืชไร ไมยืนตน ไมผล พืชสวน ทุงหญาเลี้ยงสัตวและโรงเรือนเลี้ยงสัตว สถานที่

                  เพาะเลี้ยงสัตวน้ําและเกษตรผสมผสาน/ไรนาสวนผสม
                             1)    พื้นที่นา (A1)   มีเนื้อที่ 721,684 ไร หรือรอยละ 14.74 ของเนื้อที่จังหวัด

                  ประกอบดวย นาราง มีเนื้อที่ 4,721 ไร หรือรอยละ 0.10 ของเนื้อที่จังหวัด นาขาว 689,172 ไร หรือ

                  รอยละ 14.07 ของเนื้อที่จังหวัด พบมากในพื้นที่อําเภอพิชัย รองลงมาคือ อําเภอเมืองอุตรดิตถ อําเภอตรอน
                  และอําเภอลับแล นอกจากนี้มีการปลูกพืชอื่น ๆ ตามหลังเก็บเกี่ยวขาวแลว มีเนื้อที่ 27,791 ไร หรือรอยละ

                  0.57 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก ขาวโพด มันสําปะหลัง ถั่วเขียว ถั่วเหลือง แตงโม พริก เผือก และพืชผัก
                  (หอมแดง ตนหอม) รวมถึงพื้นที่ที่มีน้ําทวมขังในฤดูฝน และปลูกขาวในฤดูแลง มีเนื้อที่ 246  ไร หรือ

                  รอยละ 0.01 ของเนื้อที่จังหวัด
                             2)    พืชไร (A2)  มีเนื้อที่ 549,783 ไร หรือรอยละ 11.22 ของเนื้อที่จังหวัด พืชไร

                  ที่สําคัญไดแก ขาวโพด ออย มันสําปะหลัง ไรราง และสับปะรด

                                   (1)  ขาวโพด (A202) มีเนื้อที่ 215,772 ไร หรือรอยละ 4.41 ของเนื้อที่จังหวัด
                  สวนใหญปลูกมากอยูในอําเภอบานโคก รองลงมาคือ อําเภอน้ําปาด และพบกระจายตัวในทุกอําเภอ

                  รวมทั้งพื้นที่ปลูกพืชอื่น ๆ ตามหลังจากเก็บเกี่ยวขาวโพดแลว มีเนื้อที่ 2,998 ไร หรือรอยละ 0.06

                  ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก ถั่วลิสง และพืชผัก(หอมแดง)
                                   (2)  ออย (A203) มีเนื้อที่ 191,493 ไร หรือรอยละ  3.91 ของเนื้อที่จังหวัด สวนใหญ

                  ปลูกมากอยูในอําเภอทองแสนขัน รองลงมาคือ อําเภอพิชัย และพบกระจายตัวในทุกอําเภอ ยกเวน
                  อําเภอบานโคก

                                   (3)  มันสําปะหลัง (A204) มีเนื้อที่ 64,999 ไร หรือรอยละ 1.33 ของเนื้อที่จังหวัด
                  สวนใหญปลูกมากอยูในอําเภอทองแสนขัน รองลงมาคือ อําเภอตรอน และพบกระจายตัวในทุกอําเภอ
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100