Page 97 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ.2563
P. 97

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            79





                                   (5)  ทุเรียน (A403) มีเนื้อที่ 30,340 ไร หรือรอยละ 0.62 ของเนื้อที่จังหวัด

                  ปลูกมากในอําเภอลับแล รองลงมาคือ อําเภอเมืองอุตรดิตถ อําเภอทาปลา และอําเภอน้ําปาด

                                   (6)  กลวย (A411) มีเนื้อที่ 22,044 ไร หรือรอยละ 0.45 ของเนื้อที่จังหวัด
                  ปลูกมากในอําเภอทาปลา รองลงมาคือ อําเภอเมืองอุตรดิตถ และพบกระจายตัวในทุกอําเภอ

                                   (7)  มะมวง (A407) มีเนื้อที่ 11,336 ไร หรือรอยละ 0.23 ของเนื้อที่จังหวัด

                  ปลูกมากในอําเภอพิชัย และพบกระจายตัวในทุกอําเภอ
                             5)    พืชสวน (A5) มีเนื้อที่ 7,992 ไร หรือรอยละ 0.16 ของเนื้อที่จังหวัด โดยมีพืชสวน

                  ที่สําคัญ ไดแก พืชผัก
                                   (1)  พืชผัก (A502) มีเนื้อที่ 6,544 ไร หรือรอยละ 0.13 ของเนื้อที่จังหวัด พืชผัก

                  ที่สําคัญ ไดแก หอมแดง ตนหอม บวบ ขา กระเทียม ซึ่งพบมากในอําเภอลับแล รองลงมาคือ อําเภอ
                  เมืองอุตรดิตถ และพบกระจายตัวในทุกอําเภอ

                             6)    ทุงหญาเลี้ยงสัตวและโรงเรือนเลี้ยงสัตว (A7) มีเนื้อที่ 3,794 ไร หรือรอยละ 0.08

                  ของเนื้อที่จังหวัด โดยทุงหญาและโรงเรือนเลี้ยงสัตวที่สําคัญ ไดแก โรงเรือนเลี้ยงโค กระบือ และมา
                  โรงเรือนเลี้ยงสุกร และโรงเรือนเลี้ยงสัตวปก

                                   (1)  โรงเรือนเลี้ยงโค กระบือ และมา (A702) มีเนื้อที่ 1,502 ไร หรือรอยละ

                  0.03 ของเนื้อที่จังหวัด พบมากบริเวณอําเภอเมืองอุตรดิตถ และอําเภอทาปลา
                                   (2)  โรงเรือนเลี้ยงสุกร (A704) มีเนื้อที่ 1,038 ไร หรือรอยละ 0.02 ของเนื้อที่

                  จังหวัด พบมากบริเวณอําเภอเมืองอุตรดิตถ
                                   (3)  โรงเรือนเลี้ยงสัตวปก (A703) มีเนื้อที่ 770 ไร หรือรอยละ 0.02 ของเนื้อที่

                  จังหวัด พบมากบริเวณอําเภอเมืองอุตรดิตถ และอําเภอตรอน
                             7)    พืชน้ํา (A8) มีเนื้อที่ 621  ไร หรือรอยละ 0.01 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก บัว และ

                  ผักบุง พบในอําเภอพิชัย และอําเภอตรอน

                             8)    สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา (A9) มีเนื้อที่ 867 ไร หรือรอยละ 0.02 ของเนื้อที่จังหวัด
                  ไดแก สถานที่เพาะเลี้ยงปลา และสถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ําราง

                             9)    เกษตรผสมผสาน/ไรนาสวนผสม (A0) มีเนื้อที่ 778 ไร หรือรอยละ 0.02 ของเนื้อที่

                  จังหวัดพบในอําเภอตรอน อําเภอทองแสนขัน อําเภอพิชัย อําเภอเมืองอุตรดิตถ และอําเภอลับแล
                        2..8.3   พื้นที่ปาไม (F)  มีเนื้อที่ 2,780,635 ไร หรือรอยละ 56.77 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก ปาไม

                  ผลัดใบ ปาผลัดใบ และปาปลูก
                             1)    ปาไมผลัดใบ (F1) มีเนื้อที่ 337,581 ไร หรือรอยละ 6.89 ของเนื้อที่จังหวัด

                  ประกอบดวย ปาไมผลัดใบสมบูรณ (F101) มีเนื้อที่ 333,020 ไร หรือรอยละ 6.80 ของเนื้อที่จังหวัด
                  พบในพื้นที่สูงอําเภอทาปลา อําเภอเมืองอุตรดิตถ อําเภอลับแล อําเภอน้ําปาด อําเภอฟากทา และ
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102