Page 96 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ.2563
P. 96

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            78





                                   (4)  ไรราง (A200) มีเนื้อที่ 37,804 ไร หรือรอยละ 0.77 ของเนื้อที่จังหวัด

                  พบกระจายตัวในทุกอําเภอ

                                   (5)  สับปะรด (A205) มีเนื้อที่ 28,960 ไร หรือรอยละ 0.59 ของเนื้อที่จังหวัด
                  จังหวัดอุตรอดิตถเปนแหลงผลิตสับปะรดที่สําคัญ คือ “สับปะรดหวยมุน” สวนใหญปลูกมากที่อําเภอน้ํา

                  ปาด รองลงมาคือ อําเภอบานโคก

                             3)    ไมยืนตน (A3) มีเนื้อที่ 117,816 ไร หรือรอยละ 2.41 ของเนื้อที่จังหวัด ไมยืนตน
                  ที่สําคัญ ไดแก สัก ยางพารา ปาลมน้ํามัน ไมยืนตนราง/เสื่อมโทรม และยูคาลิปตัส

                                   (1)  สัก (A305) มีเนื้อที่ 66,624 ไร หรือรอยละ 1.36  ของเนื้อที่จังหวัด สวนใหญ
                  ปลูกมากอยูที่อําเภอน้ําปาด รองลงมาคือ อําเภอทาปลา และพบกระจายตัวในทุกอําเภอ

                                   (2)  ยางพารา (A302) มีเนื้อที่ 34,289 ไร หรือรอยละ 0.70 ของเนื้อที่จังหวัด
                  สวนใหญปลูกมากที่อําเภอน้ําปาด รองลงมาคือ อําเภอทองแสนขัน และพบกระจายตัวในทุกอําเภอ

                                   (3)  ปาลมน้ํามัน (A303) มีเนื้อที่ 6,184 ไร หรือรอยละ 0.13 ของเนื้อที่จังหวัด

                  สวนใหญปลูกมากอยูที่อําเภอพิชัย รองลงมาคือ อําเภอทองแสนขัน และพบกระจายตัวในทุกอําเภอ
                                   (4)  ไมยืนตนราง/เสื่อมโทรม (A300) มีเนื้อที่ 3,931 ไร หรือรอยละ 0.08

                  ของเนื้อที่จังหวัด พบกระจายตัวในทุกอําเภอ

                                   (5)  ยูคาลิปตัส (A304) มีเนื้อที่ 3,829 ไร หรือรอยละ 0.08 ของเนื้อที่จังหวัด
                  สวนใหญปลูกมากที่อําเภอตรอน รองลงมาคือ อําเภอพิชัย อําเภอทองแสนขัน  และพบกระจายตัว

                  ในทุกอําเภอ
                             4)    ไมผล (A4) มีเนื้อที่  246,907 ไร หรือรอยละ  5.01 ของเนื้อที่จังหวัด ไมผล

                  ที่สําคัญ ไดแก มะมวงหิมพานต รองลงมาคือ มะขาม ลางสาด ลองกอง ไมผลผสม ทุเรียน กลวย และ
                  มะมวง

                                   (1)  มะมวงหิมพานต (A408) มีเนื้อที่ 47,379 ไร หรือรอยละ 0.97 ของเนื้อที่

                  จังหวัด ปลูกมากในอําเภอทาปลา รองลงมาคืออําเภอน้ําปาด อําเภอเมืองอุตรดิตถ และพบกระจายตัว
                  ในทุกอําเภอ

                                   (2)  มะขาม (A412) มีเนื้อที่ 43,838 ไร หรือรอยละ 0.90 ของเนื้อที่จังหวัด

                  ปลูกมากในอําเภอบานโคก รองลงมาคือ อําเภอฟากทา อําเภอน้ําปาด  และพบกระจายตัวในทุกอําเภอ
                                   (3)  ลางสาด ลองกอง (A420) มีเนื้อที่ 43,254 ไร หรือรอยละ 0.88 ของเนื้อที่

                  จังหวัด ปลูกมากในอําเภอเมืองอุตรดิตถ รองลงมาคือ อําเภอลับแล อําเภอทาปลา และอําเภอพิชัย
                                   (4)  ไมผลผสม (A401) มีเนื้อที่ 37,294 ไร หรือรอยละ 0.76 ของเนื้อที่จังหวัด

                  เปนพื้นที่ที่ปลูกไมผลรวมกันเกินกวา 3 ชนิดขึ้นไป พบมากในอําเภอลับแล ซึ่งเปนแหลงผลิตไมผลที่
                  สําคัญของจังหวัด รองลงมาคือ อําเภอเมืองอุตรดิตถ อําเภอทาปลา และพบกระจายตัวในทุกอําเภอ
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101