Page 95 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 95

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       70


                       ตารางที่ 19 สถานะทรัพยากรดิน เขตพัฒนาที่ดินลุมน้ําคลองวังยาง จังหวัดสระบุรี

                                                                                              เนื้อที่
                                   สถานะทรัพยากรดิน                  หนวยแผนที่ดิน
                                                                                           ไร     รอยละ

                        1. ดินตื้น                                                       52,634     19.91
                              1.1 ดินตื้นในที่ดอนถึงชั้นหินพื้น   47B 47C 47D และ 47E     51,446     19.46

                              1.2 ดินตื้นในที่ดอนถึงชั้นมารลหรือกอนปูน   52B                503        0.19
                              1.3 ดินตื้นในที่ดอนถึงชั้นหินพื้น/ดินที่ดอน   47B/RC            685        0.26

                                   ที่มีหินโผล สัดสวน 50:50
                        2. ดินในที่ดอนที่เต็มไปดวยกอนหิน สัดสวน 50:50  28B/RL 28C/RL และ      2,855        1.08
                                                                 28D/RL
                        3. ดินที่มีความอุดมสมบูรณต่ําในพื้นที่ดอน   29 29B และ 29C       24,579        9.30
                        4. พื้นที่ลาดชันเชิงซอน                 62                       60,064      22.72

                        5. ดินที่มีความอุดมสมบูรณปานกลางถึงสูงใน   28 28B 28C 31 31B     99,217      37.52
                           พื้นที่ดอน                            31C 55B 55C และ 55D

                        6. พื้นที่เบ็ดเตล็ด                      AF ML RC  U และ W        25,046        9.47
                                               รวมเนื้อที่ทั้งหมด                       264,395    100.00

                       หมายเหตุ : วิเคราะหโดยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร


                              2) ดินในที่ดอนที่เต็มไปดวยกอนหิน สัดสวน 50:50 ไดแก หนวยแผนที่ 28B/RL 28C/RL
                       และ 28D/RL มีเนื้อที่ 2,855 ไร หรือรอยละ 1.08

                                 แนวทางการจัดการ
                                 การจัดการปญหาดินเต็มไปดวยกอนหินโดยการเลือกปลูกพืชไรที่มีระบบรากตื้น พืชทน
                       แลงหรือไมยืนตนโตเร็วรวมกับการปลูกพืชแบบผสมผสาน สําหรับการปลูกไมผล ไมยืนตน ควรมีการ
                       จัดการเฉพาะหลุม ขุดหลุมขนาด 50x50x50 เซนติเมตร เพิ่มความอุดมสมบูรณของดินโดยใชปุย

                       อินทรีย ไดแก ปุยหมัก ปุยคอก หรือปลูกพืชตระกูลถั่วแลวไถกลบ ควรใหน้ําแบบน้ําหยด และใชวัสดุ
                       คลุมดินเพื่อปองกันการระเหยของน้ําเพื่อเก็บรักษาความชื้นในดิน ในพื้นที่ที่มีความลาดชันสูงควรมี

                       มาตรการอนุรักษดินและน้ํา เชน มีวัสดุคลุมดิน ปลูกพืชคลุมดิน หรือทําแนวรั้วหญาแฝก เปนตน
                              3) ดินที่มีความอุดมสมบูรณต่ําในพื้นที่ดอน

                                ดินที่มีความอุดมสมบูรณต่ําในพื้นที่ดอนอาจเนื่องจากวัตถุตนกําเนิดดินมีแรธาตุอาหาร
                       ตามธรรมชาตินอย ประกอบกับเกษตรกรมีการใชประโยชนที่ดินอยางตอเนื่องติดตอกันเปนเวลานาน

                       โดยขาดการปรับปรุงบํารุงดิน ทําใหดินเสื่อมโทรม ธาตุอาหารพืชลดลงทําใหพืชเจริญเติบโตชา
                       ผลผลิตลดลง รวมถึงการใชที่ดินที่ไมถูกตองตามหลักวิชาการ เชน การชะลางพังทลายของดิน ดินขาด
                       อินทรียวัตถุ เปนตน ไดแก หนวยแผนที่ 29 29B และ 29C มีเนื้อที่ 24,579 ไร หรือรอยละ 9.30
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100