Page 94 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 94

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       69


                       13. ปญหาทรัพยากรดินและแนวทางแกไข

                              การศึกษาขอมูลทรัพยากรดินปญหาจากแผนบริหารการจัดการทรัพยากรดินปญหา
                       ของประเทศไทย ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) (กรมพัฒนาที่ดิน, 2561) สามารถสรุปปญหา
                       ทรัพยากรดินในเขตพัฒนาที่ดินลุมน้ําคลองวังยาง จังหวัดสระบุรี (ตารางที่ 19 และ ภาพที่ 12)

                       พรอมเสนอทั้งแนวทางการจัดการ ดังนี้

                              1) ดินตื้น
                                 ดินตื้นเปนดินที่มีศักยภาพทางการเกษตรต่ําเนื่องจากเปนดินที่มีชิ้นสวนหยาบในปริมาณที่
                       มากกวา 35 เปอรเซ็นต โดยปริมาตรหรือพบชั้นหินพื้นภายในความลึก 50 เซนติเมตรจากผิวดิน

                       มีปริมาณเนื้อดินเหนียวนอยทําใหความสามารถในการดูดซับธาตุอาหารต่ํา การยึดเกาะของเม็ดดิน
                       ไมดี เกิดการชะลางพังทลายไดงาย และเปนอุปสรรคตอการขัดขวางการชอนไชของรากพืชลงไปหา

                       อาหารและน้ําทําใหการเจริญเติบโตและใหผลผลิตผิดปกติ ดินตื้นที่พบในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุมน้ํา
                       คลองวังยาง จังหวัดสระบุรี มีเนื้อที่ 52,634 ไร หรือรอยละ 19.91 จําแนกได ดังนี้
                                 1.1) ดินตื้นในที่ดอนถึงชั้นหินพื้น ดินตื้นประเภทนี้จัดอยูในระดับรุนแรงมากตอการผลิตพืช
                       ไดแก หนวยแผนที่ 47B 47C 47D และ 47E มีเนื้อที่ 51,446 ไร หรือรอยละ 19.46

                                 1.2) ดินตื้นในที่ดอนถึงชั้นมารลหรือกอนปูน ดินตื้นประเภทนี้จัดอยูในระดับรุนแรงปาน
                       กลางตอการผลิตพืช เปนดินที่มีสารประกอบจําพวกแคลเซียมหรือแมกนีเซียมคารบอเนตปนอยู
                       จัดเปนดินที่มีความอุดมสมบูรณสูง แตมีขอเสียคือ มีปฏิกิริยาดินเปนดางเปนขอจํากัดตอพืชบางชนิด

                       ที่ไวตอความเปนดางเนื้อดินเหนียวมีนอยทําใหการเกาะยึดตัวของเม็ดดินไมดี เกิดการชะลางพังทลาย
                       ไดงาย ไดแก หนวยแผนที่ 52B มีเนื้อที่ 503 ไร หรือรอยละ 0.19
                                 1.3) ดินตื้นในที่ดอนถึงชั้นหินพื้น/ดินที่ดอนที่มีหินโผล สัดสวน 50:50 ดินตื้นประเภทนี้จัด

                       อยูในระดับรุนแรงมากที่สุดการตอการผลิตพืช ไดแก หนวยแผนที่ 47B/RC มีเนื้อที่ 685 ไร หรือ
                       รอยละ 0.26
                                 แนวทางการจัดการ

                                 การจัดการปญหาดินตื้นสามารถทําไดโดยเลือกพื้นที่ทําการเกษตรที่มีหนาดินไมนอยกวา
                       15 เซนติเมตร และไมมีกอนกรวดหรือลูกรังกระจัดกระจายอยูที่ผิวดินมากนัก เลือกปลูกพืชไรที่มี
                       ระบบรากตื้นหรือพืชทนแลง เชน ปลูกหญาเลี้ยงสัตว หรือไมใชสอยโตเร็วและปลูกพืชแบบผสมผสาน

                       สําหรับการปลูกไมผล ไมยืนตน ควรมีการจัดการเฉพาะหลุม ขุดหลุมขนาด 50x50x50 เซนติเมตร
                       หรือถึงชั้นพื้นหินแข็ง นําหนาดินหรือดินจากที่อื่นผสมกับปุยคอกหรือปุยหมักรองกนหลุม เพิ่มความ
                       อุดมสมบูรณของดินโดยใชปุยอินทรีย ไดแก ปุยหมัก ปุยคอก หรือปลูกพืชตระกูลถั่วแลวไถกลบ

                       ควรใหน้ําแบบน้ําหยด และใชวัสดุคลุมดินเพื่อปองกันการระเหยของน้ําเพื่อเก็บรักษาความชื้นในดิน
                       ดินตื้นที่มีปฏิกิริยาดินเปนดาง ควรใหปุยในรูปสารละลายเกลือของธาตุดังกลาว หรือใหปุยทางใบและ
                       ปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดินรวมดวย สวนพื้นที่ที่เปนดินตื้นมากและมีเศษชิ้นสวนกอนกรวด

                       หินเนื้อหยาบปะปนอยูหนาผิวดินจํานวนมากไมเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ ควรใชปลูกไม
                       ยืนตนโตเร็ว เชน กระถินณรงค กระถินยักษ ขี้เหล็กบาน สีเสียดแกน สะเดา ยูคาลิปตัส กามปู นนทรี
                       หรือทําทุงหญาเลี้ยงสัตว ในพื้นที่ที่มีความลาดชันสูงควรมีมาตรการอนุรักษดินและน้ํา เชน มีวัสดุ

                       คลุมดิน ปลูกพืชคลุมดิน หรือทําแนวรั้วหญาแฝก เปนตน
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99