Page 90 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 90

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       67


                                ดินมีความเหมาะสมสําหรับทุงหญาเลี้ยงสัตว และไมเหมาะสมโดยมีขอจํากัดรุนแรงมาก
                       เรื่องหินพื้นโผล (L-I/L-IIIr) ไดแก หนวยแผนที่ 47B/RC มีเนื้อที่ 685 ไร หรือรอยละ 0.26

                                ดินไมคอยเหมาะสมสําหรับทุงหญาเลี้ยงสัตว มีขอจํากัดเรื่องสภาพพื้นที่ (L-IIt) ไดแก
                       หนวยแผนที่ 47E มีเนื้อที่ 1,967 ไร หรือรอยละ 0.74

                                ดินไมเหมาะสมสําหรับทุงหญาเลี้ยงสัตว มีขอจํากัดที่รุนแรงมากยากตอการปรับปรุงแกไข

                       ในเรื่องสภาพพื้นที่ (L-IIIt) ไดแก หนวยแผนที่ 62 มีเนื้อที่ 60,064 ไร หรือรอยละ 22.72

                       12. การประเมินการสูญเสียดิน

                              จากการประเมินการสูญเสียดินในเขตพัฒนาที่ดินลุมน้ําคลองวังยาง จังหวัดสระบุรี คํานวณ
                       โดยใชสมการการสูญเสียดินสากล A= R K L S C P (Wischmeier และ Smith, 1978) พบวา การใช
                       ประโยชนที่ดินบริเวณพื้นที่ดอนและที่ลาดเชิงเขาที่มีการปลูกพืชไร ไดแก มันสําปะหลัง ขาวโพด ออย
                       ทานตะวัน และพริก ไมยืนตน ไดแก ยางพรารา ปาลมน้ํามัน ยูคาลิปตัส สัก ตะกู ไผ ไมผล มะพราว

                       ลิ้นจี่ นอยหนา มะมวง กลวย มะขาม พืชผัก ทุงหญาเลี้ยงสัตว และพื้นที่ปาไมผลัดใบ สงผลใหการ
                       สูญเสียดินอยูในระดับที่นอยมากถึงปานกลาง สวนการทําการเกษตรในบริเวณพื้นที่ลาดชันสูงและ

                       พื้นที่ลาดชันเชิงซอนสงผลใหการสูญเสียดินอยูในระดับที่รุนแรงถึงรุนแรงมาก จึงควรมีมาตรการการ
                       อนุรักษดินและน้ําเพื่อลดปริมาณการสูญเสียดิน จากผลการประเมินปริมาณการสูญเสียดิน พบวา
                       มีอัตราการชะลางพังทลายของดินระดับนอยมาก มีเนื้อที่ 109,713 ไร หรือรอยละ 41.50 ระดับการ
                       สูญเสียดินนอย มีเนื้อที่ 117,071 ไร หรือรอยละ 44.28 ระดับการสูญเสียดินปานกลาง มีเนื้อที่

                       26,586 ไร หรือรอยละ 10.06 ระดับการสูญเสียดินรุนแรง มีเนื้อที่ 619 ไร หรือรอยละ 0.23 ระดับ
                       การสูญเสียดินรุนแรงมาก มีเนื้อที่ 10,406 ไร หรือรอยละ 3.94 (ตารางที่ 18 และ ภาพที่ 11)
                              แนวทางการแกปญหาการชะลางพังทลายของดิน สามารถลดหรือแกไขโดยใชมาตรการการ

                       อนุรักษดินและน้ําโดยวิธีกล ไดแก การไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ การยกรองตามแนวระดับ
                       การทําขั้นบันไดดิน คันดิน คันชะลอความเร็วของน้ํา ทางลําเลียงในไรนา ฝาย บอดักตะกอน และการ
                       ทําคันดินรูปแบบตาง ๆ ที่เหมาะสมตามความลาดเทของพื้นที่ เปนตน วิธีพืช ไดแก การปลูกพืช

                       คลุมดิน การคลุมดินดวยเศษซากพืช การปลูกพืชสลับแถบ ปลูกพืชหมุนเวียน พืชแซม และไมบังลม
                       เปนตน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2557)

                       ตารางที่ 18 การสูญเสียดิน เขตพัฒนาที่ดินลุมน้ําคลองวังยาง จังหวัดสระบุรี

                                                       อัตราการสูญเสียดิน              เนื้อที่
                         ลําดับ    ระดับการสูญเสียดิน
                                                           (ตัน/ไร/ป)         ไร           รอยละ

                           1     นอยมาก                      0-2                   109,713                  41.50

                           2     นอย                         2-5                   117,071                  44.28
                           3     ปานกลาง                     5-15                    26,586                  10.06

                           4     รุนแรง                      15-20                       619                    0.23
                           5     รุนแรงมาก                 มากกวา 20                10,406                    3.94

                                         รวมเนื้อที่ทั้งหมด                        264,395                100.00

                       หมายเหตุ : วิเคราะหโดยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95