Page 96 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 96

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       71


                                 แนวทางการจัดการ
                                 ดินที่มีความอุดมสมบูรณต่ําจําเปนตองมีการฟนฟูและปรับปรุงบํารุงดินที่เหมาะสม

                       โดยการเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุใหแกดิน รวมทั้งการเพิ่มเติมธาตุอาหารพืชใหแกดินในรูปของปุยดวย
                       โดยแนะนําและสงเสริมใหใชปุยอินทรีย เชน ปุยคอก ปุยหมัก หรือปุยพืชสดในอัตราอยางนอย
                       1 ตันตอไร รวมทั้งวิธีการปลูกพืชหมุนเวียนที่มีพืชตระกูลถั่วรวมอยูในระบบสําหรับการใชปุยเคมี

                       ควรพิจารณาใหเหมาะสมกับชนิดของพืช ชนิดของดิน และระยะเวลาที่เหมาะสมจึงจะเกิดประโยชน
                       สูงสุด นอกจากนั้นการใชปุยแบบผสมผสาน คือ การใชปุยเคมีรวมกับการใชปุยอินทรียและวัสดุ
                       ปรับปรุงดินก็เปนอีกวิธีการหนึ่งที่ควรพิจารณาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของปุย และกอใหเกิดความยั่งยืน

                       ในการผลิต
                              4) พื้นที่ลาดชันเชิงซอน

                                พื้นที่ลาดชันเชิงซอนเปนพื้นที่ที่มีความลาดชันมากกวารอยละ 35 ลักษณะและสมบัติของ
                       ดินที่พบไมแนนอน มีทั้งดินลึกและดินตื้น ลักษณะของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติ

                       แตกตางกันไปแลวแตชนิดของหินตนกําเนิดในบริเวณนั้น มักมีเศษหิน กอนหิน หรือหินโผลกระจัด
                       กระจายทั่วไป สวนใหญยังปกคลุมดวยปาไมประเภทตาง ๆ เชน ปาเบญจพรรณ ปาเต็งรังหรือปาดง
                       ดิบชื้น หลายแหงมีการทําไรเลื่อนลอยโดยปราศจากมาตรการในการอนุรักษดินและน้ํา ซึ่งเปนผลทํา

                       ใหเกิดการชะลางพังทลายของหนาดิน จนบางแหงเหลือแตหินโผล ไมสามารถทําการเกษตรไดอยางมี
                       ประสิทธิภาพและสงผลกระทบทั้งทางตรงและทางออมตอทรัพยากรสิ่งแวดลอมและระบบนิเวศน
                       ไดแก หนวยแผนที่ 62 มีเนื้อที่ 60,064 ไร หรือรอยละ 22.72

                                 แนวทางการจัดการ
                                พื้นที่ลาดชันเชิงซอนหรือที่ลาดชันสูงมากกวา 35 เปอรเซ็นต ควรปลอยไวใหเปนปาตาม
                       ธรรมชาติ เปนที่อยูอาศัยของสัตวปา แหลงตนน้ําลําธาร ควรรักษาไวใหเปนสวนปา สรางสวนปาหรือ

                       ใชปลูกไมใชสอยโตเร็ว ในกรณีที่จําเปนตองนํามาใชประโยชนทางการเกษตร จําเปนตองมีการศึกษา
                       ดินกอน เพื่อใหทราบถึงความเหมาะสมของดินสําหรับการปลูกพืช โดยมีการใชประโยชนที่ดินในเชิง
                       อนุรักษหรือวนเกษตร และจําเปนตองใชมาตรการวิธีกลและวิธีพืชผสมผสาน เชน การทําขั้นบันไดดิน

                       การปลูกหญาแฝกเพื่อการอนุรักษดินและน้ําและปรับปรุงบํารุงดิน
                              5) ดินที่มีความอุดมสมบูรณปานกลางถึงสูงในพื้นที่ดอน ไดแก หนวยแผนที่ 28 28B 28C

                       31 31B 31C 55B 55C และ 55D มีเนื้อที่ 99,217 ไร หรือรอยละ 37.52
                                 แนวทางการจัดการ
                                 ดินที่มีความอุดมสมบูรณปานกลางถึงสูงในพื้นที่ดอน ควรมีการปรับปรุงบํารุงดินและ

                       รักษาความอุดมสมบูรณของดินใหคงอยู เนื่องจากความอุดมสมบูรณของดินในพื้นที่ดอนจะลดลง
                       อยางรวดเร็วจากการชะลางพังทลายของดิน ดังนั้นจึงควรเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุและธาตุอาหารพืช
                       ใหแกดินอยางสม่ําเสมอ เชน การปลูกพืชตระกูลถั่วสลับกับพืชหลัก ปลูกพืชตระกูลถั่วแซมระหวาง

                       แถวพืชอื่น หรือปลูกแบบเหลื่อมฤดู การใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี สําหรับพื้นที่ซึ่งมีความลาดเทเกิน
                       5 เปอรเซ็นต ควรมีการอนุรักษดินและน้ํา และรักษาความชื้นในดินดวยวัสดุคลุมดินหรือปลูกพืชคลุม
                       ดิน รวมทั้งพัฒนาแหลงน้ําใหเพียงพอสําหรับการปลูกพืชในระยะฝนทิ้งชวง และในฤดูแลง

                              6) พื้นที่เบ็ดเตล็ด ไดแก หนวยแผนที่ AF ML RC U และ W มีเนื้อที่ 25,046 ไร หรือ
                       รอยละ 9.47
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101