Page 86 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 86

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       63


                       11. ความเหมาะสมของดินสําหรับพืชเศรษฐกิจ

                              จากการนําขอมูลทรัพยากรดินมาประเมินความเหมาะสมของดินสําหรับปลูกพืชเศรษฐกิจใน
                       พื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุมน้ําคลองวังยาง จังหวัดสระบุรี ตามเอกสารวิชาการฉบับที่ 28 ของกองสํารวจดิน
                       (กองสํารวจดิน, 2523) สามารถสรุปได ดังนี้ (ตารางที่ 17)

                              1) ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับปลูกขาว (P)

                                จากผลการประเมินความเหมาะสมของดินสําหรับปลูกขาวในเขตพัฒนาที่ดิน พบวา
                       ไมพบดินที่เหมาะสมตอการปลูกขาว เนื่องจากมีขอจํากัดในระดับรุนแรงและรุนแรงมากเรื่องความ
                       เสียงตอการขาดแคลนน้ํา ที่ดินเต็มไปดวยกอนหิน ความลาดชันของพื้นที่ และมีหินพื้นโผล จึงไมควร

                       นําดินดังกลาวมาใชปลูกขาว เพราะจะทําใหขาวที่ปลูกไดรับความเสียหาย การจัดการดินเพื่อการปลูก
                       ขาวอาจตองลงทุนสูงและไมคุมคาตอการลงทุน

                              2) ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับปลูกพืชไร (N)
                                ดินมีความเหมาะสมดีมากสําหรับปลูกพืชไร โดยไมมีขอจํากัด (N-I) ไดแก หนวยแผนที่ 31

                       มีเนื้อที่ 4,973 ไร หรือรอยละ 1.88

                                ดินมีความเหมาะสมดีสําหรับปลูกพืชไร แตมีขอจํากัดเล็กนอยเรื่องปฏิกิริยาดิน (N-IIa)
                       ไดแก หนวยแผนที่ 28 มีเนื้อที่ 25,925 ไร หรือรอยละ 9.80 ขอจํากัดเรื่องสภาพพื้นที่และปฏิกิริยาดิน
                       (N-IIta) ไดแก หนวยแผนที่ 28B และ 52B มีเนื้อที่ 31,985 ไร หรือรอยละ 12.10 มีขอจํากัดเรื่อง
                       ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา ไดแก หนวยแผนที่ 29 มีเนื้อที่ 1,295 ไร หรือรอยละ 0.49 มีขอจํากัด

                       เรื่องสภาพพื้นที่และความอุดมสมบูรณของดิน (N-IIta) ไดแก หนวยแผนที่ 28B มีเนื้อที่ 32,482 ไร
                       หรือรอยละ 11.91 และมีขอจํากัดเรื่องสภาพพื้นที่ (N-IIt) ไดแก หนวยแผนที่ 31B และ 55B มีเนื้อที่

                       31,306 ไร หรือรอยละ 11.84
                                ดินมีความเหมาะสมดีสําหรับปลูกพืชไร แตมีขอจํากัดเรื่องสภาพพื้นที่และความอุดม
                       สมบูรณของดิน (N-IIta) และไมเหมาะสมมีขอจํากัดรุนแรงเรื่องปริมาณกอนกรวด ลูกรัง หรือเศษหิน

                       (N-IIta/N-Vg) ไดแก หนวยแผนที่ 28B/RL มีเนื้อที่ 624 ไร หรือรอยละ 0.24

                                ดินมีความเหมาะสมปานกลางสําหรับปลูกพืชไร โดยมีขอจําจัดรุนแรงปานกลางเรื่อง
                       สภาพพื้นที่ (N-IIIt) ไดแก หนวยแผนที่ 28C 29C 31C และ 55C มีเนื้อที่ 7,945 ไร หรือรอยละ 3.00
                       มีขอจํากัดเรื่องความลึกถึงชั้นดานแข็งและปริมาณกอนกรวด ลูกรัง หรือเศษหิน (N-IIIcg) ไดแก
                       หนวยแผนที่ 47B มีเนื้อที่ 13,131 ไร หรือรอยละ 4.97 มีขอจํากัดเรื่องสภาพพื้นที่ ความลึกถึงชั้น

                       ดานแข็ง และปริมาณกอนกรวด ลูกรัง หรือเศษหิน (N-IIItcg) ไดแก หนวยแผนที่ 47C มีเนื้อที่
                       24,551 ไร หรือรอยละ 9.29

                                ดินมีความเหมาะสมปานกลางสําหรับปลูกพืชไร โดยมีขอจํากัดปานกลางเรื่องสภาพพื้นที่
                       และไมเหมาะสม มีขอจํากัดรุนแรงเรื่องปริมาณกอนกรวด ลูกรัง หรือเศษหิน (N-IIIt/N-Vg) ไดแก
                       หนวยแผนที่ 28C/RL มีเนื้อที่ 1,932 ไร หรือรอยละ 0.73

                                ดินไมคอยเหมาะสมสําหรับปลูกพืชไร มีขอจํากัดในระดับรุนแรงมากเรื่องสภาพพื้นที่

                       (N-IVt) ไดแก หนวยแผนที่ 47D และ 55D มีเนื้อที่ 12,501 ไร หรือรอยละ 4.73
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91