Page 163 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 163

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      123


                       1 แหง ไดแก อางเก็บน้ําหนองผักหนอก ฝาย 2 แหงตั้งอยูในบานหนองผักหนอก แหลงน้ําใตดิน ไดแก
                       บอบาดาลจํานวน 44 บอ เปนบอน้ําเพื่อการเกษตรจํานวน 30 บอ บอน้ําเพื่ออุปโภค-บริโภค จํานวน

                       14 บอ
                                 พื้นที่ทั้งหมดอยูในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (สปก.) และพื้นที่นอกเขตปาไมตาม

                       กฎหมาย มีการใชประโยชนที่ดินในการทําการเกษตรมากที่สุด มีเนื้อที่ 13,175 ไร หรือรอยละ 64.62
                       โดยปลูกพืชไรมากที่สุด เนื้อที่ 8,238 ไร หรือรอยละ 40.10 ไดแก ขาวโพด มันสําปะหลัง และ
                       มะเขือเทศ เปนตน รองลงมาเปนทุงหญาและโรงเรือนเลี้ยงสัตว เนื้อที่ 2,082 ไร หรือรอยละ 10.21

                       พื้นที่ปาไม เนื้อที่ 5,363 ไร หรือรอยละ 26.31 พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง เนื้อที่ 1,112 ไร หรือ
                       รอยละ 5.46  และพื้นที่แหลงน้ํา เนื้อที่ 174 ไร หรือรอยละ 0.85

                                 วัตถุตนกําเนิดดิน เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ (residuum) และ/หรือ เคลื่อนยาย
                       มาทับถมโดยแรงโนมถวงของโลกตามบริเวณไหลเขาหรือที่ลาดเชิงเขา (colluvium) ของหินดินดาน
                       (shale) และหินปูน (lime stone) ซึ่งเปนหินตะกอนที่มีเนื้อละเอียด ทรัพยากรดินพื้นที่ดําเนินการ

                       จําแนกได 2 ชุดดิน และ2 ดินคลาย มีเนื้อที่รวม 15,754 ไร หรือรอยละ 77.28 ของพื้นที่ ดังนี้
                                     1) ชุดดินมวกเหล็ก พบ 5 หนวยแผนที่ มีเนื้อที่ 6,997 ไร หรือ รอยละ 34.31 ไดแก
                       หนวยแผนที่ Ml-sgclB/d2sh,E1 Ml-sgclC/d2sh,E1 Ml-gclC/d2sh,E1 Ml-gclD/d2sh,E2 Ml-gclE/d2sh,E2

                                     2) ชุดดินวังสะพุง พบ 6 หนวยแผนที่ มีเนื้อที่ 4,061 ไร หรือ รอยละ 19.93 ไดแก

                       หนวยแผนที่ Ws-clC/d3sh,E1 Ws-sgclC/d3sh,E1 Ws-gclE/d3sh,E2 Ws-clB/d4sh,E1 Ws-clC/d4sh,E1
                       และ Ws-clC/d5,E1

                                     3) ดินคลายชุดดินมวกเหล็กที่เปนดินเนื้อละเอียด พบ 2 หนวยแผนที่ มีเนื้อที่

                       4,421 ไร หรือรอยละ 34.31 ไดแก  หนวยแผนที่ Ml-f-clB/d2sh,E1  และ Ml-f-clC/d2sh,E1
                                     4) ดินคลายชุดดินทับกวางที่เปนดินลึกมาก พบ 1 หนวยแผนที่ มีเนื้อที่ 275 ไร

                       หรือรอยละ 1.36 ไดแก หนวยแผนที่ Tw-vd-clC/d5,E1
                                     หนวยแผนที่เบ็ดเตล็ด 4 หนวยแผนที่ มีเนื้อที่ 4,633 ไร หรือรอยละ 22.72 ไดแก
                       ที่ดินหินพื้นโผล (RC) พื้นที่ลาดชันเชิงซอน (SC) พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง (U) และพื้นที่แหลงน้ํา (W)

                                 ดานศักยภาพของดินสําหรับปลูกพืชเศรษฐกิจ พบวา ดินเหมาะสมดีมากสําหรับทุงหญา
                       เลี้ยงสัตว มีเนื้อที่ 14,045 ไร หรือรอยละ 68.9 เหมาะสมปานกลางสําหรับปลูกขาวโพด มันสําปะหลัง

                       และถั่วเขียว แกวมังกร และพืชผัก มีขอจํากัดปานกลางเรื่องความลาดชันของพื้นที่ และความลึกที่พบ
                       ชั้นดานแข็ง มีเนื้อที่ 6,828 ไร หรือรอยละ 33.48 เหมาะสมดีสําหรับปลูกพืชผัก แกวมังกร มะมวง
                       มะขาม มีเนื้อที่ 4,518 ไร หรือรอยละ 22.16 และไมเหมาะสมสําหรับปลูกขาวและปาลน้ํามัน

                       มีขอจํากัดรุนแรงมากเรื่องการระบายน้ําของดิน สภาพพื้นที่ความลาดชัน และเสี่ยงตอการขาดแคลนน้ํา
                       มีเนื้อที่ 15,754 ไร หรือรอยละ 77.28

                                 ดานศักยภาพของดินสําหรับงานดานปฐพีกลศาสตร พบวา ดินไมเหมาะสมอยางยิ่ง
                       สําหรับการใชเปนแหลงทรายและกรวด เนื่องจากพบขอจํากัดเรื่องการจําแนกดินตามระบบ Unified
                       ไมเหมาะสมสําหรับใชเปนดินถมหรือดินคันทาง เสนทางแนวถนน บอขุด และพื้นที่อางเก็บน้ําขนาด

                       เล็ก พบขอจํากัดในเรื่องการจําแนกดินตามระบบ Unified ความลึกถึงชั้นหินพื้น ความลาดชันของ
                       พื้นที่ และความซึมน้ําของดินใตความลึกของบอขุดคอนขางเร็ว มีเนื้อที่ 15,754 ไร หรือรอยละ 77.28
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168