Page 162 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 162

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      122


                       ปาไม มีเนื้อที่ 69,867 ไร หรือรอยละ 26.42 พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง มีเนื้อที่ 11,158 ไร หรือ
                       รอยละ 4.22 พื้นที่เบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 9,338 ไร หรือรอยละ 3.52 และพื้นที่แหลงน้ํา มีเนื้อที่ 9,253 ไร

                       หรือรอยละ 3.50
                                 วัตถุตนกําเนิดดินในเขตพัฒนาที่ดินลุมน้ําคลองวังยาง เกิดจากตะกอนน้ําพาทับถมบน

                       ชั้นมารล และวัตถุตนกําเนิดดินที่เกิดการผุพังอยูกับที่ (residuum) หรือเกิดจากตะกอนหรือเศษหิน
                       ตกที่ผุพังแลวเคลื่อนที่จากที่สูงลงไปที่ต่ําตามแรงโนมถวงของโลก (colluvium) ทรัพยากรดินสามารถ
                       จําแนกได 22 หนวยแผนที่ดิน ไดแก หนวยแผนที่ 28 28B 28C 29 29B 29C 31 31B 31C 47B 47C

                       47D 47E 52B 55B 55C 55D 62 28B/RL 28C/RL 28D/RL และ 47B/RC มีเนื้อที่ 239,349 ไร หรือ
                       รอยละ 90.53 และหนวยพื้นที่เบ็ดเตล็ด 5 หนวยแผนที่ ไดแก เขตปศุสัตว (AF) ที่ดินดัดแปลง (ML)
                       ที่ดินหินพื้นโผล (RC) ที่อยูอาศัย (U) และพื้นที่แหลงน้ํา (W) มีเนื้อที่ 25,046 ไร หรือรอยละ 9.47

                                 ศักยภาพของดินสําหรับปลูกพืชเศรษฐกิจ พบวา ดินเหมาะสมดีมากสําหรับปลูกไมผล
                       ยางพารา มะพราว และทุงหญาเลี้ยงสัตว มีเนื้อที่ประมาณ 123,796 ไร หรือรอยละ 46.82 เหมาะสมดี

                       ถึงปานกลางสําหรับปลูกพืชไร ติดขอจํากัดเล็กนอยเกี่ยวกับสภาพพื้นที่ ความเปนดางของดิน ปริมาณ
                       กอนกรวด ความลึกถึงชั้นดานแข็ง และความอุดมสมบูรณของดิน มีเนื้อที่ 156,304 ไร หรือรอยละ
                       59.12 และไมเหมาะสมสําหรับปลูกพืชทุกชนิด ติดขอจํากัดรุนแรงเรื่องความลาดชันของพื้นที่

                       มีเนื้อที่ 60,064 ไร หรือรอยละ 22.72 ไดแก พื้นที่ลาดชันเชิงซอน มีความลาดชันมากกวา
                       35 เปอรเซ็นต นอกจากนี้ พบวา ดินในพื้นที่ไมเหมาะสมตอการปลูกขาว เนื่องจากมีขอจํากัดในระดับ
                       รุนแรงและรุนแรงมากเรื่องความเสียงตอการขาดแคลนน้ํา ที่ดินเต็มไปดวยกอนหิน ความลาดชันของ

                       พื้นที่ และมีหินพื้นโผล
                                 สถานะทรัพยากรดินสวนใหญเปนดินที่มีความอุดมสมบูรณปานกลางถึงสูงในพื้นที่ดอน

                       มีเนื้อที่ 99,217 ไร รอยละ 37.52 รองลงมาเปนพื้นที่ลาดชันเชิงซอน เนื้อที่ 60,064 ไร หรือรอยละ
                       22.72  ดินตื้นในที่ดอนถึงชั้นหินพื้น เนื้อที่ 52,634 ไร หรือรอยละ 19.91 ดินที่มีความอุดมสมบูรณ
                       ต่ําในพื้นที่ดอน เนื้อที่ 24,579 ไร หรือรอยละ 9.30 ดินในที่ดอนที่เต็มไปดวยกอนหินสัดสวน 50:50

                       และดินตื้นในที่ดอนถึงชั้นหินพื้น/ดินที่ดอนที่มีหินโผล สัดสวน 50:50 ตามลําดับ และจากการประเมิน
                       การสูญเสียดิน พบวา พื้นที่รอยละ 85.78 มีอัตราการสูญเสียหนาดินอยูในระดับนอยมากถึงนอย

                              1.2 การศึกษา การวิเคราะหขอมูล ดานกายภาพและสภาพปญหา พื้นที่ดําเนินการ

                                 พื้นที่ดําเนินการ บานหนองมะกรูด หมูที่ 12 บานซับสนุน หมูที่ 9 บานซับขอน หมูที่ 12
                       และบานหนองจอก หมูที่ 8 ตําบลหนองยางเสือ อําเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี มีเนื้อที่ 20,387 ไร
                       สภาพพื้นที่อยูสูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ 232-650 เมตร สภาพภูมิประเทศสวนใหญ

                       เปนพื้นที่ลาดเชิงเขา (piedmont) และพื้นที่ภูเขา (mountain) มีความลาดชันเล็กนอยมาก
                       ความลาดชันของพื้นที่สวนใหญ 5-12 เปอรเซ็นต ลาดเทจากทางดานทิศตะวันออกไปยังทิศตะวันตก
                       ของพื้นที่

                                 ในพื้นที่ดําเนินการมีแบบรูปทางน้ําเปนแบบกิ่งไม (dendritic drainage pattern) เปน
                       ทางน้ําธรรมชาติขนาดเล็กมาก โดยสวนใหญจะมีน้ําเฉพาะฤดูฝน ไดแก หวยใหญ หวยน้ําซับ และ

                       คลองวังยาง แหลงน้ําดังกลาวมีน้ําใชตลอดป แตมีปริมาณลดลงในฤดูแลงหรือเมื่อฝนทิ้งชวงนาน
                       นอกจากแหลงน้ําตามธรรมชาติแลวยังมี แหลงน้ําผิวดิน ไดแก บอน้ําในไรนา จํานวน 15 บอ อางเก็บน้ํา
   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167