Page 159 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 159

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      119


                              9.3 ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน

                                 1) สภาพพื้นที่ดําเนินการสวนใหญมีความลาดชันสูง ควรมีการปลูกพืชตามแนวระดับ
                       ขวางความลาดเทของพื้นที่ และมีการกําหนดรูปแบบอนุรักษดินและน้ํา ทั้งมาตรการอนุรักษดินและน้ํา

                       โดยใชวิธีกลและวิธีพืชใหเหมาะสมกับพื้นที่
                                 2) ทรัพยากรดินสวนใหญในพื้นที่ดําเนินการเปนดินตื้นที่มีเศษหินหรือกอนกรวดปะปน

                       ในเนื้อดิน การปลูกพืชควรมีการรักษาความชื้นใหแกดินดวยการปลูกพืชคลุมดินหรือปลูกหญาแฝก
                       เปนตน
                                 3) ควรเนนเรื่องการปรับปรุงบํารุงดินดวยการปลูกพืชปุยสด เชน ปอเทือง และพืช
                       ตระกูลถั่วตาง ๆ รวมกับการใชปุยอินทรีย เชน ปุยหมัก น้ําหมักชีวภาพ เพื่อลดปริมาณการใชปุยเคมี

                       และจัดทําเปนแปลงสาธิต เพื่อเปนตัวอยางใหแกเกษตรกรในพื้นที่ใกลเคียงนําไปปฏิบัติ
                                 4) ควรมีการติดตามประเมินผล การพัฒนาที่ดินในพื้นที่ดําเนินการในดานตาง ๆ เชน
                       การอนุรักษดินและน้ํา การปรับปรุงบํารุงดินเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร เพื่อใหทราบถึงการ

                       เปลี่ยนแปลงสมบัติดิน ผลผลิตพืช ปญหาอุปสรรค และนํามาพัฒนาแนวทางการจัดการดินในพื้นที่ให
                       ถูกตองและเหมาะสมตอไป
                                 5) ควรมีการขยายผลการพัฒนาที่ดินในพื้นที่ดําเนินการซึ่งเปนพื้นที่ตัวแทนสภาพปญหา

                       ในเขตพัฒนาที่ดินลุมคลองวังยาง จังหวัดสระบุรี มีการจํากัดบริเวณไวเพียงสวนหนึ่ง เพื่อใหการ
                       พัฒนาที่ดินเพื่อการเกษตรมีประสิทธิภาพ เปนรูปธรรม และเกิดความยั่งยืน และมีการขยายผลโดย
                       กําหนดพื้นที่ดําเนินการที่มีสภาพปญหาอื่นเพิ่มเติม เพื่อใหงานพัฒนาที่ดินครอบคลุมทุกสภาพปญหา

                       ในพื้นที่ลุมน้ํา
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164