Page 97 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 97

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       81







                                                             บทที่ 5

                                                        สรุปผลการศึกษา


                       5.1 สรุปผลการศึกษา

                              การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์พื้นที่ในการจัดระบบอนุรักษ์ดินและ

                       น้้าในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม และศึกษาความพึงพอใจของเกษตรกรในการจัดระบบอนุรักษ์ดินและ
                       น้้า ด้าเนินการในพื้นที่บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ต้าบลแม่จริม อ้าเภอแม่จริม จังหวัดน่าน ซึ่งเป็นหมู่บ้าน

                       เสี่ยงภัยดินถล่ม ตามรายงานของกรมทรัพยากรธรณี โดยสภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นลูกคลื่นลอนชันถึง
                       พื้นที่สูงชันมากที่สุด เกษตรกรปลูกพืชไร่เป็นหลัก ไถพรวนดินขวางแนวระดับ ส่งผลให้เป็นพื้นที่เสี่ยง

                       ดินถล่ม
                              5.1.1 การวิเคราะห์พื้นที่และวางแผนออกแบบระบบอนุรักษ์ดินและน้้า
                                     1) สภาพพื้นที่และขอบเขตของโครงการ อยู่สูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ

                       380 - 474 เมตร มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ร้อยละ 64 ของพื้นที่โครงการ พื้นที่โครงการ
                       396.20 ไร่ ค้านวณอัตราน้้าไหลบ่าสูงสุด (Q) ของพื้นที่โครงการรวม เท่ากับ 7.68 ลูกบาศก์เมตรต่อ
                       วินาที มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ จ้านวน 12 ราย ทุกรายคิดว่าระบบอนุรักษ์ดินและน้้ามีความจ้า
                       เป็นอยู่ในระดับมาก และจะเปลี่ยนรูปแบบการท้าการเกษตรจากการปลูกพืชไร่ (พืชเชิงเดี่ยว) มาปลูก

                       ไม้ผลไม้ยืนต้น ร้อยละ 91.67 มีเพียงร้อยละ 8.33 ยังคงปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ร่วมด้วย ทรัพยากรดิน
                       ที่พบมี 3 ชุดดิน 7 หน่วยแผนที่ดิน ได้แก่ ดินตะกอนน้้าพาเชิงซ้อน ชุดดินลี้ และดินคล้ายชุดดินวังสะ
                       พุง ส่วนใหญ่ของพื้นที่พบว่าเป็นดินลึก เมื่อน้าตัวอย่างดินมาวิเคราะห์หาค่าสมบัติทางเคมีของดิน

                       ก่อนด้าเนินการเปรียบเทียบกับหลังด้าเนินการ พบว่า ไม่การเปลี่ยนแปลงอย่างเด่นชัด เนื่องจากยังไม่
                       มีการใช้ประโยชน์ที่ดิน สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน ร้อยละ 78 ของพื้นที่โครงการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
                                     2) การวางแผนออกแบบระบบอนุรักษ์ดินและน้้าและก่อสร้างระบบอนุรักษ์ดินและ
                       น้้า ในพื้นที่ 396 ไร่ ดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนเหนียว pH  5.4-5.5 ความอุดมสมบูรณ์โดยทั่วไป
                       ค่อนข้างต่้า ดินบริเวณที่สูงเป็นดินตื้น  บริเวณที่ดอนเป็นดินลึกถึงลึกมาก ปริมาณอินทรียวัตถุ

                       ค่อนข้างต่้า ประมาณ 0.7-0.8 เปอร์เซ็นต์ สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นพืชไร่ ได้แก่ ข้างโพดเลี้ยง
                       สัตว์ และไร่หมุนเวียน ไม่มีร่องรอยการชะล้างพังทลายของดินเด่นชัด ความลาดชันของพื้นที่อยู่
                       ระหว่าง 12-75 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณน้้าฝนรวมทั้งปี 1,293.50 มิลลิเมตร ความลาดชันเฉลี่ยของพื้นที่

                       อยู่ที่ 44 เปอร์เซ็นต์ ระยะห่างในแนวดิ่ง (VI) เท่ากับ 6 เมตร และก้าหนดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้้า
                       ตามความลาดชัน คือ ความลาดชัน 12-75 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่ที่ดินเป็นดินลึกถึงลึกมาก ควรปลูกไม้ยืน
                       ต้นหรือไม้ผลร่วมกับคูรับน้้าขอบเขา ในพื้นที่ความลาดชัน 20-75 เปอร์เซ็นต์ ที่เป็นดินตื้น ให้ปลูกไม้
                       ยืนต้นตามแนวระดับ และมีแถบหญ้าแฝกปลูกขวางความลาดเทขนานกับแถวที่ปลูกไม้ยืนต้น สรุป

                       มาตรการอนุรักษ์ดินและน้้าในพื้นที่โครงการ ได้แก่ คูรับน้้าขอบเขา (คันดินแบบที่ 6) ความยาว
                       26.50 กิโลเมตร เพื่อลดความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินจากปริมาณน้้าไหลบ่าหน้าดิน
                       ทางล้าเลียงในไร่นา ความยาว 2.40 กิโลเมตร ส้าหรับใช้เป็นทางล้าเลียงผลผลิตทางการเกษตรสู่ตลาด
                       ท่อคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 60 เซนติเมตร จ้านวน 1 จุด ท่อคอนกรีตเสริมเหล็ก
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102