Page 92 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 92

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       78






                       เซนติเมตรต่อชั่วโมง อยู่ในระดับเร็วมาก ดัชนีความซาบซึมน้ าของดิน มีค่าเท่ากับ 1 (ตามตารางที่ 6
                       ในบทที่ 3)

                                     4) ดัชนีค่าโครงสร้างของดิน พิจารณาจากโครงสร้างดิน ซึ่งทั้ง 3 ชุดดิน มีรูปร่าง
                       คล้ายกล่อง ไม่มีรูปทรงที่แน่นอน (blocky) จึงมีค่าดัชนีค่าโครงสร้างของดิน เท่ากับ 4 (ภาพที่ 22 ใน
                       บทที่ 3)

                       ตารางที่ 19 ค่าปัจจัยความคงทนต่อการถูกชะล้างพังทลายของดิน (K)


                              ชุดดิน     S   Si Clay    K  sat  เปอร์เซ็นต์  ดัชนี     ดัชนี      K-factor
                                        (%) (%) (%) (เซนติเมตรต่อชั่วโมง) อินทรียวัตถุ ค่าโครงสร้างของดิน อัตราการซึมซาบน้้าในชั้นดิน
                                                                  a       b             c
                       ดินตะกอนน ่าพาเชิงซ้อน (AC)  38.20 27.80 34.00  53.17  3.1  4    1          0.015
                       ลี  (Li)         24.80 30.90 44.30  74.12  3.64     4            1          0.015
                       ดินคล้ายชุดดินวังสะพุง (Ws-d)  20.10 24.00 56.00  น ่าไหลเร็ว  1.76  4  1   0.015
                       ดินคล้ายชุดดินวังสะพุง (Ws-vd)  28.90 24.00 47.10  39.91  3.03  4  1        0.015
                              4.3.2 การประเมินการสูญเสียดินใช้สมการ USLE ตามสมการที่ 4 – 8 ที่ได้อธิบายในบทที่ 1
                       และ 3 ก่อนด าเนินการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า พบว่า มีอัตราการสูญเสียดินรวมทั้งสิ้น 33.607

                       ตันต่อไร่ต่อปี โดยพื้นที่ที่มีการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (ไร่หมุนเวียน) ป่าผลัดใบสมบูรณ์ และพื้นที่ที่
                       ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ความลาดชัน 12 – 35 เปอร์เซ็นต์ มีการสูญเสียดินอยู่ในระดับน้อย (ต่ ากว่า 2
                       ตันต่อไร่ต่อปี) ส่วนพื้นที่ที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ความลาดชัน มากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ มีการสูญเสีย
                       ดินอยู่ในระดับปานกลาง (2 – 4 ตันต่อไร่ต่อปี) เมื่อด าเนินการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ าแล้ว พบว่า

                       มีอัตราการสูญเสียดินรวมทั้งสิ้น 10.92 ตันต่อไร่ต่อปี (ลดลง 67.50 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับก่อน
                       ด าเนินการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า) โดยพื้นที่ที่มีการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ไร่หมุนเวียน และป่า
                       ผลัดใบสมบูรณ์ มีการสูญเสียดินอยู่ในระดับน้อย (ต่ ากว่า 2 ตันต่อไร่ต่อปี) ซึ่งเป็นค่าที่ยอมรับได้ (กรม
                       พัฒนาที่ดิน, 2543) ซึ่งสามารถสรุปการประเมินการสูญเสียดินก่อนและหลังด าเนินการจัดระบบ

                       อนุรักษ์ดินและน้ า ตามตารางที่ 20

                       4.4 ความพึงพอใจของเกษตรกร

                              จากการสัมภาษณ์เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ จ านวน 12 ราย พบว่า เกษตรกรผู้เข้าร่วม
                       โครงการ เป็นเพศชาย และเพศหญิง ร้อยละ 83.33 และ 16.67 ตามล าดับ มีอายุระหว่าง 40 - 63 ปี

                       ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่า ร้อยละ 50 รองลงมาจบการศึกษา
                       ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ไม่ได้เรียนหนังสือ ประถมศึกษาปีที่ 4 และประถมศึกษาปี
                       ที่ 6 ร้อยละ 16.67, 16.67, 8.33 และ 8.33 ตามล าดับ และเกษตรกรทุกรายมีประสบการณ์ท า
                       การเกษตรมากกว่า 20 ปี

                              รายได้รวมของครัวเรือนจากภาคการเกษตร พบว่า เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ส่วนใหญ่มี

                       รายได้จากภาคการเกษตร ระหว่าง 70,001 – 100,000 บาท ร้อยละ 58.33 รองลงมามีรายได้
                       ระหว่าง 40,000 – 70,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 33.33 และมีรายได้ มากกว่า 100,001 คิดเป็นร้อย
                       ละ 8.34
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97