Page 91 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 91

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       77























                                                             (a)                                          (b)

                       ภาพที่ 31 สภาพต้นไม้ที่ได้ปลูกในพื้นที่ (a-b) ต้นมะม่วงหิมพานต์ อายุ 3 ปี ปลูกตามแนวระดับ และ

                                                        บนคูรับน้ าขอบเขา

                       4.3 การประเมินการสูญเสียดินก่อนและหลังด้าเนินการ

                              4.3.1 ค่าปัจจัยความคงทนต่อการถูกชะล้างพังทลายของดิน (K) ได้ด าเนินการเก็บตัวอย่าง

                       ดินภาคสนาม ที่ระดับความลึก 0 – 15 เซนติเมตร ตามชุดดินที่ได้กล่าวข้างต้น วิเคราะห์หาค่า
                       ปริมาณอินทรียวัตถุ (%  Organic  Matter)  เปอร์เซ็นต์ทราย (%Sand) เปอร์เซ็นต์ทรายแป้ง และ
                       เปอร์เซ็นต์ทรายละเอียดมาก และค่าสัมประสิทธิ์การน าน้ าของดินขณะอิ่มตัวด้วยน้ า (K ) น ามา
                                                                                                  sat
                       ค านวณค่า K ตามสมการที่ 6 7 และ 8 ในบทที่ 1 ผลปรากฏว่า

                                     1) ดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อน (AC) พบว่ามี เปอร์เซ็นต์ทราย เปอร์เซ็นต์ทรายแป้ง

                       และเปอร์เซ็นต์ทรายละเอียดมาก อยู่ที่ 38.20, 27.80 และ 34.00 ตามล าดับ ชุดดินลี้ (Li)  พบ
                       เปอร์เซ็นต์ทราย เปอร์เซ็นต์ทรายแป้ง และเปอร์เซ็นต์ทรายละเอียดมาก อยู่ที่ 24.80, 30.90 และ
                       44.30 ตามล าดับ ดินคล้ายชุดดินวังสะพุง (Ws-d)  ระดับลึก พบ เปอร์เซ็นต์ทราย เปอร์เซ็นต์ทราย

                       แป้ง และเปอร์เซ็นต์ทรายละเอียดมาก อยู่ที่ 20.10, 24.00 และ 56.00 ตามล าดับ และดินคล้ายชุด
                       ดินวังสะพุง (Ws-vd) ระดับลึกมาก พบ เปอร์เซ็นต์ทราย เปอร์เซ็นต์ทรายแป้ง และเปอร์เซ็นต์ทราย
                       ละเอียดมาก อยู่ที่ 28.90, 24.00 และ 47.10 ตามล าดับ

                                     2) เปอร์เซ็นต์อินทรียวัตถุ (%OM) ของดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อน (AC) ชุดดินลี้ (Li)
                       ดินคล้ายชุดดินวังสะพุง ระดับลึก (Ws-d) และดินคล้ายชุดดินวังสะพุง ระดับลึก (Ws-vd) มีค่า 3.10,

                       3.64, 1.76 และ 3.03 ตามล าดับ
                                     3) ค่าสัมประสิทธิ์การน าน้ าของดินขณะอิ่มตัวด้วยน้ า (K ) ที่ได้จากการวิเคราะห์ใน
                                                                                   sat
                       ห้องปฏิบัติการของดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อน (AC) ชุดดินลี้ (Li) ดินคล้ายชุดดินวังสะพุง ระดับลึก (Ws-
                       d) และดินคล้ายชุดดินวังสะพุง ระดับลึก (Ws-vd) มีค่า  53.17,  74.12  ,น้ าไหลเร็ว และ 39.91
                       ตามล าดับ ซึ่งทั้ง 3 ชุดดิน มีค่าสัมประสิทธิ์การน าน้ าของดินอิ่มตัวด้วยน้ า (K ) มากกว่า 25.00
                                                                                         sat
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96