Page 13 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ โครงการขยายผลโครงการหลวงวาวี บ้านดอยช้าง หมู่ 3 ตำบลวาวี อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         5

                                                    สูตร   A = R K L S C P                                                 (3)
                                            - ค่าปัจจัยการกัดกร่อนของฝน (rainfall and run off erosivity factor)

                                            - ค่าปัจจัยความคงทนของดิน (soil erodibility factor)
                                            - ค่าปัจจัยความยาวของความลาดเอียง (slope length factor)
                                            - ค่าปัจจัยความลาดชัน (slope steepness factor)
                                            - ค่าปัจจัยพืชและการจัดการ (crop management factor)

                                            - ค่าปัจจัยมาตรการอนุรักษ์ดินและน้่า (conservation practice factor)

                                 2) การก่อสร้างระบบอนุรักษ์ดินและน้่า

                                         (1) คูรับน้่าขอบเขา (คันดินแบบที่ 6) (Hillside-Ditch) มีวิธีด่าเนินการดังนี้
                                           - ก่าหนดผังวางแนวตามแผนที่และแบบงานจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้่า
                                           - ใช้เทปวัดระยะ วัดแนวก่อสร้างคูรับน้่าขอบเขา (คันดินแบบที่ 6) ให้ได้
                   ระยะห่างของแต่ละขั้น ตามที่ก่าหนดไว้ในแบบแปลน แนวนี้ เรียกว่า แนวหลัก (main  line) ใช้ไม้หลัก

                   แนวที่ทาสีแดงและสีขาว ปักสลับสีกัน เพื่อหมายแนวคูรับน้่าของเขาแต่ละขั้น
                                           - ใช้ไม้สตาฟตั้งตรงไม้หลักที่ปักไว้ในแนวหลัก (main line) จากนั้นใช้กล้อง
                   ระดับอ่านค่าระดับ แล้วถ่ายค่าระดับไปทางซ้ายและทางขวาของแนวหลัก (main line) และใช้ไม้หลักที่มี
                   สีเดียวกันกับแนวหลัก (main  line)  ปักหมายไว้ตลอดแนว ทุก ๆ 10 เมตร และท่าการวางแนวให้

                   ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด
                                           - ใช้แรงงานคนขุด เป็นรูปสามเหลี่ยม  ระยะห่างของคันคูขึ้นอยู่กับสภาพ
                   พื้นที่เพื่อลดความยาวของความลาดเทออกเป็นช่วงๆ ให้กักเก็บหรือระบายน้่าออกจากพื้นที่ในทิศทางที่

                   ต้องการ โดยวัดระยะห่างจากไม้หลักแนวที่ปักไว้ลงมา 0.75 เมตร เป็นจุดเริ่มขุดและขุดเข้าไปจนถึงไม้
                   หลักแนวที่ปักไว้ และย้ายดินขุดมาถมตรงจุดที่ต่่าด้านล่างต่อจากจุดเริ่มขุดถมออกมา 0.75 เมตร เพื่อให้
                   ได้พื้นที่ราบ ความกว้าง 1.50 เมตร มีความลาดเทผกผันกลับด้านใน 10 เปอร์เซ็นต์ ความลึกของงานดิน
                   ตัดลึก มากกว่าหรือเท่ากับ 0.50 เมตร
                                           - ความยาวแบบระดับไม่จ่ากัด และแบบลดระดับไม่ควรเกิน 300-600 เมตร

                                         (2) ขั้นบันไดดิน (Bench Terrace) มีวิธีด่าเนินการดังนี้
                                           - ก่าหนดผังวางแนวตามแผนที่และแบบงานจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้่า
                                           - วัดระยะตามแนวระดับ ปักหลักตามระยะที่ได้วัดให้เป็นแนว ด้วยกล้อง

                   ส่องระดับ เพื่อให้คันดินอยู่ในระดับเดียวกัน
                                           - ใช้แรงงานคนขุดเป็นรูปสามเหลี่ยม ระยะห่างของคูขึ้นกับความลาดเทของ
                   พื้นที่ โดยลดความยาวของความลาดเทของพื้นที่ที่มีความลาดชันสูงออกเป็นช่วง ๆ หรือเป็นขั้น ๆ
                   ต่อเนื่องกันคล้ายบันได และท่าการขุดขั้นบันไดดินอย่างต่อเนื่องติดกันเป็นชั้น ๆ เพื่อเก็บกักน้่าหรือระบาย

                   น้่าออกจากพื้นที่ในทิศทางที่ต้องการ ท่าให้น้่าไหลบ่าแต่ละช่วงมีปริมาณน้อยลง ลดการกัดเซาะและการ
                   พังทลายของดิน
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18