Page 12 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ โครงการขยายผลโครงการหลวงวาวี บ้านดอยช้าง หมู่ 3 ตำบลวาวี อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย
P. 12
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
4
การใช้ประโยชน์ที่ดินสิ่งปกคลุมที่ดิน และกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความเข้ม-ระยะเวลาฝนตก-ปริมาณ
น้่าฝน ในบริเวณพื้นที่หรือใกล้เคียง
การประเมินปริมาณน้่าไหลบ่า (ลูกบาศก์เมตร)
สูตร Q = CIA (1)
- ค่าสัมประสิทธิ์ของน้่าไหลบ่า (C)
- ปริมาณน้่าฝนมีหน่วยเป็น มิลลิเมตร (I)
- พื้นที่ของบริเวณรับน้่า มีหน่วยเป็นเฮกตาร์(A)
การประเมินอัตราน้่าไหลบ่า (ลูกบาศก์เมตร/วินาที)
สูตร q = CiA/360 (2)
- ค่าสัมประสิทธิ์ของน้่าไหลบ่า (C)
- ความรุนแรงของน้่าฝนมีหน่วยเป็น มิลลิเมตรต่อชั่วโมง (i)
- พื้นที่ของบริเวณรับน้่า มีหน่วยเป็นเฮกตาร์ (A)
(2) แผนที่สภาพภูมิประเทศ เพื่อให้ทราบลักษณะพื้นที่ ชั้นความลาดเทของ
พื้นที่ (slope classes) เพื่อใช้ก่าหนดระยะห่างในแนวดิ่ง (VI) ของมาตรการอนุรักษ์ดินและน้่า
(3) ข้อมูลสภาพภูมิอากาศ ท่าให้เลือกชนิดพืชที่จะปลูกให้เหมาะสม ทราบ
ปริมาณน้่าไหลบ่า หาค่า R ของสมการการประเมินการสูญเสียดินสากล (USLE)
(4) ข้อมูลทรัพยากรดิน ได้จากการส่ารวจดิน จ่าแนกความเหมาะสมของดิน
หรือประเมินคุณภาพที่ดินส่าหรับพืชเศรษฐกิจ หรือพืชที่เกษตรกรต้องการปลูก โดยพิจารณาเนื้อดินบน-
ล่าง ชั้นความลาดเทของพื้นที่ (slope classes) เพื่อใช้ก่าหนดระยะห่างในแนวดิ่ง (VI) ของมาตรการ
อนุรักษ์ดินและน้่า ความลึกของดิน การกร่อนของดิน การระบายน้่าของดิน เป็นต้น
(5) แผนที่สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินในสภาพปัจจุบัน ใช้เป็นแนวทางการ
ก่าหนดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้่า และหาค่า C และ P ของสมการการประเมินการสูญเสียดินตาม
(Universal Soil Loss Equation : USLE) (Wischmeier and Smith, 1978)
(6) ข้อมูลสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อให้ทราบถึงความร่วมมือ การ
ยอมรับ การมีส่วนร่วมของเกษตรกร ความเข้าใจและความต้องการแบบอนุรักษ์ดินและน้่า ความต้องการ
ชนิดพืชที่ปลูกเพื่อใช้ในการออกแบบอนุรักษ์ดินและน้่าให้เหมาะสมกับพืชที่ปลูก ปัญหาการใช้ที่ดินต่อการ
ปลูกพืช รวมถึงแรงงานและรายได้ของครัวเรือน
(7) ประเมินการสูญเสียดินก่อนและหลังด่าเนินการ ด้วยสมการ USLE เป็น
การศึกษาการชะล้างพังทลายของดินโดยใช้สมการคณิตศาสตร์ที่มีมานานแล้วในสหรัฐอเมริกา โดยเริ่มมี
การใช้สมการในปี 1940 ต่อมาในปี พ.ศ. 2543 กรมพัฒนาที่ดิน ได้ใช้สมการการสูญเสียดินสากล (USLE)
โดยมีรูปแบบของสมการ ดังนี้