Page 11 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ โครงการขยายผลโครงการหลวงวาวี บ้านดอยช้าง หมู่ 3 ตำบลวาวี อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย
P. 11
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
3
ได้รับจากโครงการฯ โดยให้เกษตรกรได้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น เพื่อวิเคราะห์สภาพปัญหาของ
พื้นที่ และข้อเสนอแนะเพิ่มเติมให้ตรงกับความต้องการ
3) ก่าหนดวงรอบขอบเขตของพื้นที่ลงในแผนที่ลักษณะภูมิประเทศ มาตราส่วน
1:50,000 โดยพิจารณาจากพื้นที่เป้าหมายที่ก่าหนดไว้ น่าเสนอที่ประชุม เพื่อให้คณะกรรมการโครงการฯ
พิจารณาคัดเลือกพื้นที่ตามหลักเกณฑ์ โดยมีกองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน กลุ่มส่ารวจ
เพื่อท่าแผนที่ กลุ่มวางแผนการใช้ที่ดิน และกลุ่มวิชาการ ส่านักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 ร่วมพิจารณาให้
ความเห็นชอบ ซึ่งหากผ่านคณะกรรมการคัดเลือกพื้นที่แล้ว เจ้าหน้าที่จากกองนโยบายและแผนการใช้
ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน กลุ่มส่ารวจเพื่อท่าแผนที่ กลุ่มวางแผนการใช้ที่ดิน กลุ่มวิชาการ และนักวิชาการ
เกษตรในพื้นที่ ร่วมพิจารณาคัดเลือกและตรวจสอบความถูกต้องในพื้นที่จริงอีกครั้ง เพื่อก่าหนดวงรอบ
ขอบเขตของโครงการฯ
4) ส่ารวจและรวบรวมข้อมูลพื้นฐานในพื้นที่ชุมชน ได้แก่ ถนน หมู่บ้าน ล่าน้่า แหล่งน้่า
ลักษณะดิน การถือครองที่ดิน สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ ข้อมูลทางเศรษฐกิจและสังคม และ
สภาพปัญหาของพื้นที่
5) วางแผนและออกแบบการจัดท่าระบบอนุรักษ์ดินและน้่า ร่วมกับนักวิชาการเกษตร
และเกษตรกรเจ้าของพื้นที่จากข้อมูลแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ หรือแผนที่ภาพถ่ายดาวเทียม มาตราส่วน
1:4,000 โดยใช้ข้อมูลลักษณะดิน แผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน แผนที่สภาพภูมิประเทศ เส้นชั้นความสูง
สภาพภูมิอากาศ เพื่อใช้ในการออกแบบ
6) จัดท่าแผนงาน แบบแปลนมาตรการอนุรักษ์ดินและน้่า และค่าของบประมาณในการ
ด่าเนินการ เพื่อขออนุมัติและขอรับการจัดสรรงบประมาณ
7) ด่าเนินการตามแผนงานที่ก่าหนดไว้ เมื่อได้รับการสนับสนุนงบประมาณต่อไป
8) ประเมินทัศนคติของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
1.4.2 วิธีการด่าเนินงาน
1) วิเคราะห์สภาพพื้นที่เพื่อใช้ในเป็นแนวทางในการก่าหนดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้่า
โดยพิจารณาจากข้อมูล ดังนี้
(1) แผนที่ขอบเขต / ระดับ ท่าให้ทราบถึงขอบเขตที่แท้จริง บริเวณใดเป็นที่สูง
หรือที่ต่่าและมีความลาดเทของพื้นที่ไปทางทิศใด น้่าไหลบ่าไปทางทิศใดของบริเวณพื้นที่แต่ละแห่งและไป
ลงล่าห้วยใด เพื่อประโยชน์ในการค่านวณอัตราน้่าไหลบ่าสูงสุด(Q) โดย Rational Method (Viessman
and Lewis, 1995)
ขั้นตอนการค่านวณอัตราน้่าไหลบ่าสูงสุด มีดังนี้
- ศึกษาและรวบรวมข้อมูลลักษณะพื้นที่รับน้่า และลักษณะฝนได้แก่
ขนาดพื้นที่รับน้่า (A) ระยะทางที่น้่าวิ่งก่อนถึงจุดปลายสุดของลุ่มน้่า (โดยประมาณ) ความลาดของพื้นที่