Page 52 - ผลของการใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการตอบสนองของผลผลิตข้าว และการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน
P. 52

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             41




                   กระจก  (พัชรี และคณะ, 2558) รวมถึงเป็นการลดคําใช๎จํายของภาครัฐในการแก๎ปัญหาหมอกควันได๎อีก

                   ทางหนึ่ง

                   ตารางที่ 20 ผลของการใสํวัสดุเหลือใช๎ทางการเกษตรในนาข๎าว ด๎านผลตอบแทนทางเศรษฐกิจเฉลี่ย 3 ปี

                     ต ารับ      ผลผลิต     มูลค่าผลผลิต  ต้นทุนผันแปร  ผลตอบแทนเหนือต้นทุน       B/C
                   การทดลอง  (กิโลกรัมต่อไร่)  (บาทต่อไร่)   (บาทต่อไร่)   ผันแปร (บาทต่อไร่)    ratio
                      T1         979.80      10,522.17    2,921.57           7,600.60             2.61
                      T2         930.81      9,996.39     3,005.76           6,990.63             2.33
                      T3         974.12      10,450.01    3,205.76           7,244.25             2.26
                      T4        1,027.73     11,047.77    3,605.76           7,442.01             2.07
                      T5        1,033.84     11,113.73    4,005.76           7,107.97             1.78
                      T6         952.90      10,251.61    3,205.76           7,045.85             2.20
                      T7        1,038.81     11,190.78    3,605.76           7,585.02             2.11
                      T8        1,004.90     10,797.62    4,005.76           6,791.86             1.70
                      T9         981.73      10,525.56    3,505.76           7,019.80             2.01


                                                            สรุป

                          1. การใสํถํานซังข๎าวโพด และถํานแกลบ อัตรา 100  300  และ 500  กิโลกรัมตํอไรํ และมูลวัว
                   300 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดินในชุดดินเรณู กลุํมชุดดินที่ 17 จังหวัดอุตรดิตถ์ ไมํมี

                   ผลตํอการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน จึงท าให๎คําความเป็นกรดเป็นดําง ปริมาณอินทรียวัตถุ
                   ปริมาณฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินไมํมีความแตกตํางกันในทางสถิติ รวมทั้งการใสํ
                   ปุ๋ยเคมีตามวิธีของเกษตรกร และการใสํปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดินด๎วย

                          2. การใสํถํานซังข๎าวโพด และถํานแกลบ อัตรา 100  300  และ 500  กิโลกรัมตํอไรํ และมูลวัว
                   300  กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน ไมํมีผลตํอการการเจริญเติบโตและการให๎ผลผลิต
                   ข๎าว จึงท าให๎องค์ประกอบผลผลิตข๎าว ได๎แกํ จ านวนต๎นและจ านวนรวงตํอพื้นที่ 1  ตารางเมตร  ความสูง
                   จ านวนเมล็ดดีตํอรวง น้ าหนัก 100 เมล็ด และผลผลิตข๎าวไมํมีความแตกตํางกันในทางสถิติ อยํางไรก็ตาม
                   การใสํถํานแกลบ อัตรา 300 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน ให๎ผลผลิตเฉลี่ย 1,038.81

                   กิโลกรัมตํอไรํ ซึ่งสูงกวําการใสํปุ๋ยเคมีตามวิธีของเกษตรกร และการใสํปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน
                          3. การใสํปุ๋ยเคมีตามวิธีของเกษตรกร ให๎ผลตอบแทนเหนือต๎นทุนผันแปรสูงสุดเทํากับ 7,600.60
                   บาทตํอไรํ และผลประโยชน์ตํอการลงทุนสูงที่สุด โดยมีคํา B/C ratio เทํากับ 2.61


                                                         ข้อเสนอแนะ

                          1. งานวิจัยเกี่ยวกับถํานชีวภาพควรเริ่มจากการทดลองในกระถางกํอน แล๎วคํอยน าไปวิจัยใน

                   พื้นที่จริง ซึ่งจะท าให๎ได๎ข๎อมูลเบื้องต๎นที่ดีกวําการทดลองในสภาพจริง
                          2. งานวิจัยเกี่ยวกับการใช๎วัสดุเหลือใช๎ทางการเกษตรเพื่อปรับปรุงดิน ควรมีระยะเวลาการวิจัยที่
                   ยาวนานขึ้น ซึ่งจะท าให๎เห็นการเปลี่ยนแปลงของสมบัติทางกายภาพ เคมี และชีวภาพของดินที่ชัดเจนขึ้น
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57