Page 53 - ผลของการใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการตอบสนองของผลผลิตข้าว และการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน
P. 53

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             42




                   การใสํถํานแกลบ หรือถํานซังข๎าวโพด และมูลวัว  อาจท าให๎ต๎นทุนในการผลิตข๎าวเพิ่มขึ้น แตํเกษตรกรมี

                   ความจ าเป็นใสํลงไปบ๎าง ทั้งนี้เพื่อเก็บรักษาธาตุอาหารพืชไว๎ใช๎อยํางยั่งยืน จึงถือได๎วําเป็นการลงทุนเพื่อ
                   อนาคตของลูกหลาน และเป็นการลงทุนที่คุ๎มคํา นอกจากนี้จากการสังเกตจะเห็นวําไส๎เดือนเข๎ามาอาศัย
                   ตามคันนาเพิ่มขึ้นทุกปี ดังนั้น ควรมีการศึกษาเรื่องสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กในดินเพิ่มเติม
                          3. งานวิจัยนี้ใสํถํานแกลบ ถํานซังข๎าวโพด และมูลวัว ในอัตราต่ ากวําค าแนะน า จึงไมํเห็นการ

                   เปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน และการตอบสนองของผลผลิตข๎าว ดังนั้น  ควรใช๎ตามอัตราไมํต่ ากวํา
                   1-2 ตันตํอไรํ ซึ่งการใช๎วัสดุตํางชนิดกันให๎ผลไมํเหมือนกัน  และศึกษาอัตราที่เพิ่มขึ้นจากค าแนะน า เชํน
                   ศึกษาอัตราของถํานชีวภาพอัตราที่เพิ่มขึ้น รํวมกับปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน และการใช๎ถํานชีวภาพอัตรา
                   100-300 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งของค าแนะน าจากคําวิเคราะห์ดิน

                          4. ข๎าวพันธุ์ กข แมํโจ๎ 2 มีศักยภาพในการให๎ผลผลิตสูง จากการวิจัยนี้จะเห็นวําในชุดดินเรณู ซึ่ง
                   เนื้อดินเป็นดินรํวนปนทราย มีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินอยูํในระดับต่ า และเกษตรกรไมํใสํ
                   ปุ๋ยโพแทสเซียม ซึ่งโพแทสเซียมมีผลตํอน้ าหนักเมล็ดข๎าว มีโอกาสเสี่ยงตํอการขาดทุนในอนาคต และอาจ
                   ท าให๎เสียสมดุลของธาตุอาหารพืช แตํอยํางไรก็ตามพบวํา การใสํปุ๋ยเคมีตามวิธีของเกษตรกรได๎ผลผลิต

                   ข๎าวเฉลี่ย 3 ปี เทํากับ 979.80 กิโลกรัมตํอไรํ ซึ่งสูงกวําผลผลิตที่ปลูกในเขตภาคเหนือตอนบน ประมาณ
                   865 กิโลกรัมตํอไรํ  ดังนั้น  ควรมีการศึกษาการตอบสนองผลผลิตข๎าวพันธุ์ กข-แมํโจ๎ 2 ตํอระดับ
                   โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินที่ลดลงในระยะยาว เพิ่มเติม


                                                       ประโยชน์ที่ได้รับ

                          1. ท าให๎ได๎แนวทางการน าวัสดุเหลือใช๎ทางการเกษตรมาเป็นวัสดุปรับปรุงดิน
                          2. ทราบถึงปริมาณธาตุอาหารที่มีอยูํในวัสดุเหลือใช๎ทางการเกษตร เพื่อใช๎ก าหนดเป็นอัตรา

                   ค าแนะน าการใสํที่ถูกต๎อง
                          3. เป็นทางเลือกให๎เกษตรกรใช๎เป็นวัสดุปรับปรุงดิน โดยที่เกษตรกรสามารถผลิตได๎เอง และใช๎
                   วัสดุในท๎องถิ่น มีความเป็นไปได๎สูง คือเกษตรกรลงทุนเพิ่มขึ้นอีก 15.58 บาทตํอไรํ ท าให๎ได๎ผลผลิตเพิ่มขึ้น

                   จากเดิม 59.78 กิโลกรัมตํอไรํ เมื่อใสํถํานแกลบ อัตรา 300 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์
                   ดิน หรือลงทุนเพิ่มขึ้นอีก 158.59 บาทตํอไรํ ท าให๎ได๎ผลผลิตเพิ่มขึ้นจากเดิม  54.04 กิโลกรัมตํอไรํ กรณี
                   ใสํถํานซังข๎าวโพด อัตรา 300 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน
                          4. สนองนโยบายลดการเผาในพื้นที่โลํงแจ๎ง ซึ่งท าให๎เกิดปัญหาหมอกควัน อากาศเป็นพิษ ใน

                   พื้นที่ภาคเหนือตอนลําง
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58