Page 49 - การจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในกลุ่มชุดดินที่ 56 จังหวัดตากโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 49

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        35

                   ตารางที่ 10 ผลผลิตมันสําปะหลัง


                                                                              การเปรียบเทียบความแตกตาง
                                                                 ผลผลิต
                                  ตํารับการทดลอง                                     ดวย T-Test
                                                              (กิโลกรัมตอไร)
                                                                              T1    T2   T3    T4   T5

                      1. การใชปุยตามวิธีของเกษตรกร              4,349        -    **  **  **  **

                      2. การใชปุยตามวิธีของเกษตรกรรวมกับน้ํา   5,163        -    -    ns    *     ns

                      หมักชีวภาพ

                      3. การใชปุยตามคําแนะนําจากโปรแกรมดิน      5,581        -    -     -    ns  ns

                      ไทยและธาตุอาหารพืชรวมกับน้ําหมักชีวภาพ

                      4. การใชปุยตามคําแนะนําจากโปรแกรมปุย     5,848        -    -     -     -    ns

                      รายแปลงรวมกับน้ําหมักชีวภาพ

                      5. การใชปุยตามคําแนะนําจากผลวิเคราะห     5,544        -    -     -     -    -

                      ดินในหองปฏิบัติการรวมกับน้ําหมักชีวภาพ


                   หมายเหตุ : ns หมายถึง ไมแตกตางทางสถิติ
                                  * หมายถึง แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ (p<0.05)

                                 ** หมายถึง แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่ง (p<0.01)


                          3.6 ปริมาณแปงของมันสําปะหลัง

                          เจริญศักดิ์ (2550) ไดกลาววา จากการศึกษาที่ผานมาไมพบวาปุยสูตรใดจะสามารถเพิ่มปริมาณ

                   แปงในหัวมันสําปะหลังได ไมวาจะเปนสูตร 13-13-21 หรือปุยอินทรีย การที่เกษตรกรหรือบริษัทตาง ๆ
                   มักจะกลาวอางถึงปุยหรือฮอรโมนตาง ๆ ที่จะชวยเพิ่มปริมาณแปงนั้น ขอรับรองวายังไมพบการทดลองใด

                   เปนไปตามคํากลาวอางดังกลาวเลย แตสําหรับการทดลองในครั้งนี้มีแนวโนม มีความแตกตางกันระหวาง

                   ตํารับการทดลอง เนื่องจากการใชปุยเคมีสูตรที่แตกตางกัน โดยตํารับการทดลองที่ 4 การใชปุยตาม
                   คําแนะนําจากโปรแกรมปุยรายแปลง (ใสปุยเคมีสูตร 46-0-0 อัตรา 33 กิโลกรัมตอไร สูตร 18-46-0 อัตรา

                   4 กิโลกรัมตอไร สูตร 0-0-60 อัตรา 7 กิโลกรัมตอไร รวมกับน้ําหมักชีวภาพ อัตรา 5 ลิตรตอไร) มีปริมาณ

                   แปงของมันสําปะหลังสูงที่สุด เทากับ 25.71 เปอรเซ็นต สูงกวาลักษณะประจําพันธุ รองลงมาคือตํารับการ
                   ทดลองที่ 1 2 และ 5 มีปริมาณแปงของมันสําปะหลังเทากับ 24.58 และ 23.41 เปอรเซ็นตตามลําดับ

                   สวนตํารับการทดลองที่ 3 มีเปอรเซ็นตต่ําสุดเทากับ 22.20 เปอรเซ็นต เปอรเซ็นตแปงในหัวมันที่ลดลง

                   อาจเปนผลมาจากการไดรับธาตุไนโตรเจนจากการใสปุยมากเกินไป
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54