Page 54 - การจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในกลุ่มชุดดินที่ 56 จังหวัดตากโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 54

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        40

                                                     สรุปผลการทดลอง



                          การศึกษาการจัดการดินเพื่อปลูกมันสําปะหลังในกลุมชุดดินที่ 56 จังหวัดตาก โครงการนํารอง

                   การผลิตพืชตามเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแขงขันในประชาคมอาเซียน
                   สรุปผลการทดลองไดดังนี้

                          การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน พบวา คาความเปนกรดเปนดางของดินกอนการทดลอง

                   เปนกรดจัดถึงกรดปานกลาง หลังจากการทดลองคาความเปนกรดเปนดางของดินยังอยูในระดับเปนกรด
                   จัด ซึ่งมีคานอยกวา 5.5 ปริมาณอินทรียวัตถุกอนการทดลองอยูในเกณฑต่ํา ภายหลังการทดลอง

                   อินทรียวัตถุลดลงยังอยูในเกณฑต่ํา ปริมาณฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมที่เปนประโยชน กอนการทดลอง

                   อยูในระดับต่ํา หลังการทดลองพบวามีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นอยางชัดเจน โดยเฉพาะในตํารับการทดลองที่ 5
                   การใชปุยตามคําแนะนําจากหองปฏิบัติการรวมกับน้ําหมักชีวภาพ(ใสปุยเคมีสูตร 46-0-0 อัตรา 22

                   กิโลกรัมตอไร รวมกับสูตร 18-46-0 อัตรา 35 กิโลกรัมตอไร สูตร 0-0-60 อัตรา 70 กิโลกรัมตอไร รวมกับ
                   น้ําหมักชีวภาพ อัตรา 5 ลิตรตอไร) มีแนวโนมใหมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนและโพแทสเซียมที่

                   แลกเปลี่ยนไดสูงกวาตํารับการทดลองอื่น ๆ ซึ่งเปนผลมาจากปุยเคมีที่ตกคางอยูในดิน

                          การเจริญเติบโตดานความสูงของมันสําปะหลัง ความกวางของทรงพุม น้ําหนักตนสด ไมแตกตาง
                   กันมากนักในแตละตํารับการทดลอง โดยที่ตํารับการทดลองที่ 4 การใชปุยตามคําแนะนําจากโปรแกรม

                   การใชปุยรายแปลงรวมกับน้ําหมักชีวภาพ (ใสปุยเคมีสูตร 46-0-0 อัตรา 25 กิโลกรัมตอไร รวมกับสูตร
                   18-46-0 อัตรา 11 กิโลกรัมตอไร และสูตร 0-0-60 อัตรา 7 กิโลกรัมตอไร รวมกับน้ําหมักชีวภาพ อัตรา 5

                   ลิตรตอไร) สงผลใหมีผลผลิตมันสําปะหลังสูงสุดเทากับ 5,848 กิโลกรัมตอไร และมีคาเปอรเซ็นตแปงสูงถึง

                   25.71 เปอรเซ็นต และพบวาตํารับการทดลองที่ 3 การใชปุยตามคําแนะนําจากโปรแกรมดินไทยและธาตุ
                   อาหารพืชรวมกับน้ําหมักชีวภาพใหผลตอบแทนเหนือตนทุนสูงสุดถึง 3,453 บาทตอไร



                                                        ขอเสนอแนะ



                          1. ควรมีการศึกษาเพิ่มเติม โดยใชแผนการวิจัยควบคูไปกับการทดสอบในแปลงใหญ ตอเนื่อง
                   อยางนอย 3 ป เพื่อใหไดขอมูลสนับสนุนที่แมนยําขึ้น โดยเฉพาะการจัดการน้ําเพราะบางปเกิดภาวะแหง

                   แลงซึ่งมีผลกระทบตอการผลิตของมันสําปะหลัง
                          2. ควรมีการปลูกมันสําปะหลังใหเหมาะสมกับพื้นที่โดยดูตามความเหมาะสมทั้งในดานดิน พืช

                   และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59