Page 47 - การจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในกลุ่มชุดดินที่ 56 จังหวัดตากโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 47

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        33

                   ตารางที่ 9 น้ําหนักตนสดของมันสําปะหลัง


                                                                                 การเปรียบเทียบความ
                                                               น้ําหนักตนสด
                                  ตํารับการทดลอง                                  แตกตางดวย T-Test
                                                               (กิโลกรัมตอไร)
                                                                              T1  T2  T3      T4    T5

                      1. การใชปุยตามวิธีของเกษตรกร              3,723        -  ns  *        *     *

                      2. การใชปุยตามวิธีของเกษตรกรรวมกับน้ํา   3,464        -    -  ns  ns  ns

                      หมักชีวภาพ

                      3. การใชปุยตามคําแนะนําจากโปรแกรมดิน      3,216        -    -    -    ns  ns

                      ไทยและธาตุอาหารพืชรวมกับน้ําหมักชีวภาพ

                      4. การใชปุยตามคําแนะนําจากโปรแกรมปุย     3,611        -    -    -     -    ns

                      รายแปลงรวมกับน้ําหมักชีวภาพ

                      5. การใชปุยตามคําแนะนําจากผลวิเคราะห     3,232        -    -    -     -     -

                      ดินในหองปฏิบัติการรวมกับน้ําหมักชีวภาพ

                   หมายเหตุ : ns หมายถึง ไมแตกตางทางสถิติ

                                  * หมายถึง แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ (p<0.05)



                   3. ผลผลิต

                          3.1 ผลผลิตมันสําปะหลัง

                          ผลผลิตมันสําปะหลัง จากการชั่งน้ําหนักหัวมันสด พบวา ผลผลิตในแตละตํารับการทดลอง
                   แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยตํารับการทดลองที่ 4 การใชปุยตามคําแนะนําจากโปรแกรมปุย

                   รายแปลงรวมกับน้ําหมักชีวภาพ (ใสปุยเคมีสูตร 46-0-0 อัตรา 33 กิโลกรัมตอไร สูตร 18-46-0 อัตรา 4

                   กิโลกรัมตอไร สูตร 0-0-60 อัตรา 7 กิโลกรัมตอไร รวมกับน้ําหมักชีวภาพ อัตรา 5 ลิตรตอไร) มีผลผลิตมัน
                   สําปะหลังสูงที่สุด เทากับ 5,848 กิโลกรัมตอไร แตกตางจากตํารับการทดลองที่ 1 วิธีเกษตรกร (ใสปุยเคมี

                   สูตร 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมตอไร) ใหผลผลิตต่ําสุดเทากับ 4,349 กิโลกรัมตอไร ซึ่งต่ํากวาศักยภาพ
                   ประจําพันธุที่ใหผลผลิตเฉลี่ย 5.0-6.4 ตันตอไร รองลงมาคือตํารับการทดลองที่ 3 5 และ 2 มีผลผลิตมัน

                   สําปะหลังเทากับ 5,581 5,544 และ 5,163 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ (ภาพที่ 4)
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52